390 likes | 535 Views
Hyper Text. ความเป็นมาของ Hypertext. ปี 1945 Vannevar Bush นักปราชญ์ด้านวิทยาศาสตร์ ผู้คิดค้นเครื่องมือ MeMex (Memory Extender) ช่วยพัฒนาความทรงจำ ปี 1965 Engellart และ Ted Nelson จึงได้คิดค้นวิธีการนำเครื่องมือ MEMEX มาประยุกต์ใช้ร่วมกับคอมพิวเตอร์ ในรูป HyperText
E N D
ความเป็นมาของ Hypertext • ปี 1945Vannevar Bush นักปราชญ์ด้านวิทยาศาสตร์ ผู้คิดค้นเครื่องมือMeMex(Memory Extender) ช่วยพัฒนาความทรงจำ • ปี 1965Engellart และ Ted Nelson จึงได้คิดค้นวิธีการนำเครื่องมือMEMEX มาประยุกต์ใช้ร่วมกับคอมพิวเตอร์ ในรูป HyperText • ปี 1985บ. ซีร๊อกซ์ได้คิดค้นวิธีการเชื่อมโยงด้วยรูปภาพ • ปี ค.ศ. 1978บ. แอปเปิ้ลแมคอินทอช ได้คิดค้นเครื่องมือที่เป็นซอฟต์แวร์ชื่อว่า“HyperCard”แบบ Obj ช่วยให้การสร้างเอกสารง่ายขึ้น • ปี ค.ศ. 1991 Tim Berners-Leeพัฒนา HTML และเป็นจุดตั้งต้นของ World Wide Web
ความหมายของ Hypertext • ข้อความหรือกลุ่มของข้อความที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยมีการนำเสนอแบบปฏิสัมพันธ์ (interaction) ด้วยการนำข้อความที่ใช้มาเป็นจุดเชื่อมโยง ซึ่งจะปรากฏในลักษณะที่เด่นกว่าข้อความอื่น เช่น การขีดเส้นใต้ การเน้นด้วยสี ตัวหนา หรือตัวเอียง เป็นต้น
ระบบช่วยเหลือที่ใช้ข้อความหลายมิติระบบช่วยเหลือที่ใช้ข้อความหลายมิติ
ประโยชน์ของการใช้งาน Hypertext • รูปแบบการนำเสนอ ให้ความตื่นเต้น • มีลักษณะของการสร้างสรรค์มากกว่า • สามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารอื่น ๆ ภายนอกได้ • สามารถสืบท่องไปยังเนื้อหา ตามต้องการได้ • มีความเป็นพลวัตร • สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ดูเอกสารบางส่วนก่อนที่จะทำกิจกรรมที่กำหนดได้
ประโยชน์ของการใช้งาน Hypertext • เข้าถึงข้อมูลรายละเอียดได้อย่างรวดเร็ว • ผนวกซอฟท์แวร์อื่นๆ เข้าในการนำเสนอเอกสารได้ • เกิดความคงทนในการจดจำ มากกว่าเอกสารสิ่งพิมพ์ • เหมาะสมและสนับสนุนการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล
รูปแบบของ Hypertext • แบบไม่มีโครงสร้าง(Unstructured Hypertext) • แบบมีโครงสร้าง(Structured Hypertext) • แบบเนื้อหาสัมพันธ์(Hierarchical Hypertext)
ตัวอย่างแบบจำลอง Hypertext • HAM (Hypertext Abstract Machine) • แบบจำลอง Dexter (Dexter’s Model) • แบบจำลองHAM (Amsterdam Hypermedia Model) • แบบจำลอง HDM (Hypermedia Design Model) • แบบจำลอง OOHDM (Object Oriented Hypermedia Design Model) • แบบจำลอง RMM (Relationship Management Methodology) ตัวอย่าง
User Interface Application Tools Hypertext Abstract Machine Host File Systems ภาพแบบจำลอง Hypertext Abstract Machine (HAM)
แบบจำลอง ham • ถูกนำเสนอโดย campbell และ goodman ในปี ค.ศ.1988 มีสาระสำคัญของแบบจำลองที่ได้นำเสนอนี้ เป็นส่วนของกรอบแนวความคิดในการจัดทำระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้วยระบบข้อความหลายมิติ โดยอาศัยองค์ประกอบพื้นฐานทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ graph,content, node, link และ attribute โดยนำมาประมวลผลรายการ (transaction) เพื่อจัดเก็บสารสนเทศทั้งหมดไว้บนระบบไฟล์ของเครื่องแม่ข่าย และมีการใช้งานเป็นแบบ multi-user มีความใกล้เคียงกับ WWW
ส่วนประกอบของ Hypertext • พอยน์ (Point) • คำ,วลี,ประโยค ที่ใช้เป็นจุดเชื่อมโยงไปยังข้อมูล • โนด (Nodes) • กลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กัน ซึ่งถูกจัดไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน • ลิงค์ (Link) • การเชื่อมโยงที่เปรียบเสมือนกาวที่เชื่อโยงไฮเปอร์เท็กซ์เข้าด้วยกัน • โครงสร้างไฮราคี่(Hierarchies Structure) • โครงสร้างแบบมีการเชื่อมโยงเป็นลำดับชั้น
point • หมายถึง กลุ่มคำ หรือวลี ที่เป็นข้อความพิเศษที่แสดงว่ามีการเชื่อมโยงเกิดขึ้น โดยที่ข้อความเหล่านี้จะถูกแสดงในลักษณะที่ต่างกันออกไป ทำให้รู้ว่าเป็นพอยต์ เช่น การขีดเส้นใต้ การเน้นด้วยสี ตัวหนา หรือตัวเอียง หรือบางครั้งเรียกว่า “สมอเชื่อมโยง (link anchor)”
node • หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กันหรือเป็นเรื่องเดียวกันซึ่งถูกจัดไว้เป็นกลุ่มเดียว ซึ่งภายในโหนดนั้นอาจมีพอยต์อยู่มากกว่าหนึ่งพอยต์ก็ได้ ความยาวของโหนดนั้นไม่สามารถระบุตายตัวได้บางครั้ง อาจมีความยาวเป็นหน้ากระดาษหรือกว่านั้น หรือจะมีความยาวเพียงไม่กี่บรรทัดก็ได้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาของเรื่องราวนั้นๆ ซึ่งในบางครั้งอาจเรียก โหนด ว่า “การ์ด (card)”
จุดต่อ ลักษณะของ Node
link • หมายถึง การเชื่อมโยงเอกสารจากต้นทางไปยังปลายทาง โดยมีกลไกภายในที่ช่วยนำทางไปยังเป้าหมายได้อย่างทั่วทั้งระบบข้อความหลายมิติ ทั้งที่เป็นแบบการเชื่อมโยงภายใน และแบบการเชื่อมโยงภายนอก จำแนกลิงค์ได้เป็น 3 ชนิด ประกอบด้วย • ลิงค์ชนิดอ้างถึง (referential link) • ลิงค์ชนิดแผนภูมิ (organization link) • ลิงค์ชนิดคีย์เวิร์ด (keyword link)
ลิงค์ • ลิงค์ชนิดอ้างถึง (referential link) ใช้สำหรับเชื่อมโยงการอ้างถึงโดยตรงระหว่างจุดสองจุด ประกอบด้วยจุดเริ่มต้น (start point) และจุดสิ้นสุด (end point) เช่น ปุ่มหรือข้อความที่ลิงค์ไปข้างหน้า (forward) หรือย้อนกลับ (backward) • ลิงค์ชนิดแผนภูมิ (organization link) มีความคล้ายคลึงกับลิงค์ชนิดอ้างถึง จะแตกต่างกันที่เป็นการเชื่อมโยงระหว่างโหนดด้วยกันในลักษณะที่เป็นโครงสร้างไฮราคี่ • ลิงค์ชนิดคีย์เวิร์ด (keyword link) เป็นการนำกลุ่มคำหรือวลีต่างๆ ที่มีความหมายและสัมพันธ์ระหว่างกันมาเชื่อมโยงด้วยวิธีการเดียวกับการลิงค์ชนิดอ้างถึงหรือแผนภูมิ ลิงค์เหล่านี้ จะเป็นตัวบอกปลายทางของข้อมูลที่จะนำเสนอ
จุดต่อ เชื่อมโยง เชื่อมโยง จุดต่อ จุดต่อ เชื่อมโยง ลักษณะของการ Link
hierarchies structure • เป็นการผสมผสานของโครงสร้างระบบข้อความหลายมิติ 2 ชนิดด้วยกัน ได้แก่ ชนิดที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน (unstructured hypertext) กับชนิดที่มีโครงสร้างแน่นอน (structured hypertext) โครงสร้างแบบนี้ สามารถจำแนกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ • ชนิดจำกัดความสัมพันธ์ (strict hierarchy) • ชนิดไม่จำกัดความสัมพันธ์ (compromised hierarchy) • ชนิดซ้อน (overlapping hierarchy)
จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ ลักษณะของข้อความหลายมิติแบบเนื้อหาสัมพันธ์ชนิดจำกัดความสัมพันธ์
จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ ลักษณะของข้อความหลายมิติแบบเนื้อหาสัมพันธ์ชนิดไม่จำกัดความสัมพันธ์
จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ จุดต่อ ลักษณะของข้อความหลายมิติแบบเนื้อหาสัมพันธ์ชนิดซ้อน
presentational adaptation • วิธีการดัดแปลงให้เหมาะสมกับการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้สามารถมองเห็นข้อมูลได้อย่างทั่วถึงและเข้าถึงข้อมูลได้ตรงประเด็นมากที่สุด โดยมีเทคนิคในการนำเสนอทั้งหมด 5 วิธี ประกอบด้วย • conditional text • stretch text • page variants • fragment variants • frame-based
conditional text • เป็นวิธีการแสดงกลุ่มของข้อความหรือตัวอักษรที่กำหนดเงื่อนไขตามประเภทของผู้ใช้ ทั้งที่มีทักษะและไม่มีทักษะในการใช้งานมาก่อน กล่าวคือ การนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้กับผู้ใช้ที่มีทักษะมาก่อนจะมีรายละเอียดมากกว่าการนำเสนอข้อมูล (เพียงบางส่วน) ให้กับผู้ใช้ที่ไม่เคยมีทักษะมาก่อนเลย
ข้อความหรือตัวอักษรที่นำเสนอข้อความหรือตัวอักษรที่นำเสนอ Aaaaaa aaaaaa aaaaaa aaaaaa aaa Aaaaaa aaaaaa aaaaaa Aaaaaa aaaaaa แสดงข้อความทั้งหมดสำหรับผู้มีทักษะ แสดงข้อความเกือบทั้งหมดสำหรับผู้มีทักษะบ้าง แสดงข้อความเพียงบางส่วนสำหรับผู้ไม่มีทักษะเลย รูปแบบข้อความมีเงื่อนไข
stretch text • เป็นวิธีการแสดงคำอธิบายของข้อความที่ต้องการขยายความ แทนที่จะต้องแสดงข้อความของคำอธิบายเดียวกันนี้ไปไว้อีกหนึ่งหน้าเอกสารโดยไม่จำเป็น เพียงแต่คลิกที่ข้อความที่ได้ทำการเชื่อมโยงไว้ ก็จะปรากฏคำอธิบายภายในกรอบสี่เหลี่ยมขึ้นมา เรียกกันโดยทั่วไปว่า “เมนูป็อปอัพ (menu popup)”
รูปแบบข้อความขยายหรือรายการเลือกแบบผุดขึ้นรูปแบบข้อความขยายหรือรายการเลือกแบบผุดขึ้น
page variants • เป็นวิธีการแสดงหน้าเอกสารที่มีจำนวนมากกว่า 2 หน้าขึ้นไป โดยแต่ละหน้าเอกสารจะแสดงข้อมูลที่ไม่เหมือนกัน ตามแต่ระดับของความแตกต่างหรือรูปแบบที่ใช้งาน โดยระบบจะแสดงหน้าเอกสารที่เหมาะสมให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้งาน
ข้อความหรือตัวอักษรที่นำเสนอข้อความหรือตัวอักษรที่นำเสนอ ชุดเอกสาร ก แต่ละหน้าบรรจุข้อความที่แตกต่างกัน ชุดเอกสาร ข แต่ละหน้าบรรจุข้อความที่แตกต่างกัน รูปแบบการแปรหน้า
fragment variants • เป็นวิธีการแยกส่วนของหน้าเอกสาร ซึ่งทุกหน้าจะถูกแยกออกเป็นส่วนๆ ตามจำนวนที่ต้องการ พร้อมกับบรรจุข้อมูลลงไปในแต่ละชิ้นส่วน โดยที่ระบบจะแสดงข้อมูลภายในของชิ้นส่วนนั้นๆ ให้กับผู้ใช้
หน้าเอกสารแสดงข้อความหน้าเอกสารแสดงข้อความ ส่วน ก แบ่งออกเป็น 3 ส่วน หน้าเอกสาร ส่วน ข แบ่งออกเป็น 2 ส่วน หน้าเอกสาร ส่วน ค แบ่งออกเป็น 4 ส่วน หน้าเอกสาร รูปแบบการแปรส่วน
frame-based • เป็นวิธีการแบ่งช่อง (เฟรม) ของหน้าเอกสาร โดยกำหนดพื้นที่ของหน้าเอกสารออกเป็นเฟรมๆ เพื่อใช้แสดงข้อมูลของเอกสารปลายทางตามที่ได้เชื่อมโยงไว้ ให้มาปรากฏอยู่ภายในช่องตามที่ต้องการ
หน้าเอกสาร ก แบ่งออกเป็น 4 กรอบ หน้าเอกสาร ข แบ่งออกเป็น 3 กรอบ กรอบเชื่อมโยงแบบเร็ว กรอบหัวเรื่อง กรอบหัวเรื่อง กรอบนำเสนอ กรอบเชื่อมโยงแบบเร็ว กรอบนำเสนอ กรอบหมายเหตุ รูปแบบกรอบ
การนำรูปแบบกรอบมาประยุกต์ใช้ในโปรแกรม FrontPage
บรรณนานุกรม • rbu.rbru.ac.th/~bangkom/mm04.ppt • cptd.chandra.ac.th/mul/multimedia4.ppt • pirun.ku.ac.th/~g5166307/work/html/indexhtml.htm • www.slideshare.net/kanokratpam/4-4717595 • www.angelfire.com/la/tunjai/1118.html • www.science.rbru.ac.th/~bangkom/mm04.ppt
1.นางสาวรัตน์สุดา ทองทา เลขที่ 7 2.นางสาววิชุดา สังฆะพรม เลขที่ 19 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ห้อง ข สมาชิก