440 likes | 623 Views
Joomla Open source (JOS) Content Management System (CMS). 6-7 กุมภาพันธ์ 2553 ณ โรงเรียนกัลยาณวัตร By w e b m a s t e r @ e s a r n . c o m. รู้จักกับ Joomla. รู้จักกับ. รู้จักกับ Joomla !
E N D
Joomla Open source (JOS)Content Management System (CMS) 6-7 กุมภาพันธ์ 2553 ณ โรงเรียนกัลยาณวัตร By w e b m a s t e r @ e s a r n . c o m
รู้จักกับ • รู้จักกับ Joomla! • Joomla! (อ่านออกเสียงว่า "จูมล่า") เป็นซอฟต์แวร์สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปจัดเป็น CMS โดยมีลิขสิทธิ์เป็นโอเพ่นซอร์ส ทุกคนทั่วโลกสามารถนำไปใช้งานได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย มีระบบจัดการรูปแบบและเนื้อหาของเว็บไซต์ที่ดี มีเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ คือ www.joomla.org • Joomla! สามารถประยุกต์ใช้ตามรูปแบบที่ต้องการได้ง่าย สามารถนำมาจัดทำเว็บไซด์ได้ในหลายๆ รูป เช่น เว็บท่า เว็บ Blog เว็บ e-Commerce
รู้จักกับ • รู้จักกับ Joomla! • Joomla! ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน เหมาะสมตั้งแต่ ผู้ที่ยังไม่มีประสบการณ์พัฒนาเว็บไซต์ ไปจนถึงผู้พัฒนาเว็บไซด์มืออาชีพ • Joomla! มีรูปแบบในการจัดทำ Package ทำให้สามารถติดตั้งหรือถอดถอนการติดตั้งได้โดยง่าย • จุดแข็งของ Joomla! คือ สามารถสร้างเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว ง่าย และมีประสิทธิภาพสูง ประหยัดเวลาในการออกแบบ ลดค่าใช่จ่ายได้มาก
รู้จักกับ • รู้จักกับ Joomla! • Joomla! เป็น CMS ที่มีเครือข่ายของผู้พัฒนาทั่วโลก ทั้งหมด จะพัฒนาแยกอิสระหลายส่วน เช่น คอมโพเนนต์ โมดูล และ แมมบอท ซึ่งในแต่ละแพ็กเกจสามารถนำมาติดตั้งเพื่ออัพเกรดได้ ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน
รู้จักกับ • การประยุกต์ใช้ Joomla! • เว็บไดเรกทอรี เช่น รวมรายชื่อเว็บไซต์ รายชื่อ บุคคล หรือ ข้อมูลเฉพาะที่มีรายการมากๆ • เว็บจัดการกับเอกสาร เช่น เอกสารออนไลน์ คู่มือทางเทคนิค หรือ FAQ บทความ รีวิวต่างๆ • เว็บแกลอรีรูปภาพและมัลติมีเดีย เช่น แสดงรูปภาพเกี่ยวกับสัตว์ คน สิ่งของ เฟอร์นิเจอร์ รถยนต์ ของสะสม • เว็บไซต์ด้านอีคอมเมิร์ซ เช่น ขายสินค้า การเก็บเงิน • เว็บบล็อก เช่น เผยแพร่ประวัติส่วนตัว เรื่องประจำวัน เรื่องที่น่าประทับใจ หรือ ข้อเรียกร้องต่อสาธารณชน
รู้จักกับ 1.0.15 • Joomla!version 1.0.x
รู้จักกับ 1.5.14 • Joomla!version 1.5.x
รู้จักกับ • ความต้องการของระบบ -ในการใช้งาน Joomla! คุณต้องทำการติดตั้งโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือบนเว็บโฮสติ้งที่จะใช้รัน Joomla! ควรมีซอฟต์แวร์ (เว็บเซิร์ฟเวอร์) ดังนี้ • PHP 4.2.x ขึ้นไป (แนะนำใช้ PHP 5) • MySQL 3.23.x ขึ้นไป • Apache 1.13.19 ขึ้นไป -เว็บเบราเซอร์ที่ Joomla! ทำงานด้วยได้ ได้แก่ Firefox, Netscape, IE 5.5, IE 6.0, IE 7.0 หรือสูงกว่า
เว็บไซต์ทางการของ Joomla http://www.joomla.org/ 1.5.14
เว็บไซต์ Joomla ในประเทศไทย http://www.joomlacorner.com/ Joomla! LaiThai
การใช้งาน Joomlaเบื้องต้น
โปรแกรม joomlaจะแบ่งเว็บไซต์ออกเป็นสองส่วนหลัก ๆ คือ • frontend คือส่วนที่แสดงผลให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเนื้อหาของเว็บไซต์นั่นเอง • backend คือส่วนการจัดการเนื้อหารวมถึงโครงสร้างของเว็บไซต์ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าส่วน administrator
การจัดการ User ใน Joomla! • การจัดการ User ใน Joomla! เว็บไซต์ที่สร้างด้วย Joomla! จะเกี่ยวข้องกับผู้ใช้หรือ User 2 กลุ่ม คือ • Guests คือผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ที่ไม่ได้สมาชิก ซึ่งผู้ที่เป็น Guests จะใช้งานเว็บไซต์ได้ไม่เต็มที่ ทั้งนี้ Super Admin หรือ เว็บมาสเตอร์ จะเป็นผู้กำหนดสิทธิ์ในการใช้งานส่วนต่างๆ บนเว็บไซต์ เช่นการดูข้อมูลในบางส่วนของเว็บไซต์จะไม่สามรถเข้าถึงได้
การจัดการ User ใน Joomla! • การจัดการ User ใน Joomla! Registered คือผู้เข้าเยี่ยมชมที่ลงทะเบียนไว้กับทางเว็บไซต์ ซึ่งมีขอบเขตการใช้งานที่กว้างกว่า guests โดยผู้ใช้จะต้องลงทะเบียนสมัครกับทางเว็บไซต์ จากนั้นเมื่อเข้าชมเว็บไซต์จะต้องทำการป้อนชื่อและรหัสผ่านเพื่อพิสูจน์ตัวตนก่อนเข้าใช้งานเว็บไซต์ แต่ถ้าไม่ได้ทำการล็อกอิน ขอบเขตการทำงานก็จะถือว่าเป็นเพียง Guests เท่านั้น โดย Joomla! แบ่งกลุ่มผู้ใช้ที่เป็น Registered ออก เป็น 2 กลุ่ม คือ • Front-end • Back-end
การจัดการ User ใน Joomla! • ผู้ใช้กลุ่ม Front-End ผู้ใช้กลุ่มนี้จะมีสิทธิพิเศษในการเข้าใช้งานสูงกว่ากลุ่ม Guests ซึ่งรวมถึงสามารถสร้างและเผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ได้ โดย Joomla! มีชุดคำสั่งที่เตรียมไว้ให้สมาชิกในการเผยแพร่ข้อมูลของตัวเองได้ และสามารถจัดการคอนเท็นต์ได้ตามขอบเขตที่เว็บมาสเตอร์กำหนด โดยแบ่งเป็น 4 ระดับ คือ • ผู้ลงทะเบียน (Registered) • ผู้เขียนเนื้อหา (Author) • ผู้ตรวจสอบเนื้อหา (Editor ) • ผู้รับผิดชอบการเผยแพร่ข้อมูลระดับสูงสุด (Publisher)
การจัดการ User ใน Joomla! • ผู้ใช้กลุ่ม Front-End
การจัดการ User ใน Joomla! • ผู้ใช้กลุ่ม Back-End ผู้ใช้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับระบบต่างๆ บนเว็บไซต์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3ระดับ คือ Manager, Admin, และ Super Admin ซึ่งในการจัดการข้อมูลสำคัญของระบบจะใช้ผู้ใช้ระดับ Admin และ Super Admin เป็นผู้จัดการ
การจัดการเนื้อหา (Content Management)
ลักษณะเนื้อหาของ Joomla มี 2 แบบ การจัดการเนื้อหา (Content Management) • เนื้อหาแบบไม่มีหมวดหมู่ (Uncategorized) • เนื้อหาแบบมีหมวดหมู่ (Categoriezed)
เนื้อหาแบบไม่มีหมวดหมู่ (Uncategorized) การจัดการเนื้อหา (Content Management) • เนื้อหาคงที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง • เช่น ประวัติหน่วยงาน • วิสัยทัศน์ • พันธกิจ
เนื้อหาแบบมีหมวดหมู่ (Categorized) การจัดการเนื้อหา (Content Management) การจัดการเนื้อหาลักษณะการเก็บข้อมูลที่เป็นหมวดหมู่ และมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ • (การจัดการหมวดหมู่เนื้อหา) Sections Manager • (การจัดการประเภทเนื้อหา) Categories Manager • (รายการเนื้อหา) Article
โครงสร้างของระบบการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์โครงสร้างของระบบการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ การจัดการเนื้อหา (Content Management)
ตัวอย่างโครงสร้างของระบบการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ตัวอย่างโครงสร้างของระบบการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ การจัดการเนื้อหา (Content Management)
โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) โปรแกรมส่วนเสริม (Extensions) ทำหน้าที่ช่วยขยายขีดความสามารถทำงานของ Joomla CMS ให้สามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์โดยไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเพิ่มเติม เพียงดาวน์โหลดโปรแกรมเสริมที่ต้องการ และนำไปติดตั้งผ่านระบบบริหารจัดการของ Joomla CMS ก็ใช้งานได้ทันที รวมทั้งสามารถติดตั้งหรือถอดถอนการติดตั้งได้โดยง่าย
โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) • Extension ประกอบไปด้วย • Component • Module • Plugin • Template http://extensions.joomla.org/
โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) Component • เป็นโปรแกรมเสริมที่เพิ่มความสามารถการทำงานให้กับโปรแกรมหลัก โดยไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมใหม่ให้เสียเวลา เพียงแต่ดาวน์โหลด Component มาติดตั้งก็ใช้งานได้แล้ว • การติดตั้ง Component จะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างฐานข้อมูลหลัก และโครงสร้างไดเรคทอรี่ส์ของ Hosing เพื่อให้สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆลงในฐานข้อมูลได้ • การติดตั้งมีข้อควรระวังเบื้องต้นเหมือนกัน คือความไม่เสถียรของ Component ที่บางครั้งอาจจะทำให้ระบบเสียหาย เพราะการติดตั้ง Component จะต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างฐานข้อมูลหลัก ดังนั้นการติดตั้งควรที่จะเลือกเอาเฉพาะเวอร์ชั่นที่เสถียรแล้ว (STABLE) จะดีกว่า • ตัวอย่าง เช่น กระดานสนทนา (FireBoard Forum) การจัดการเอกสารดาวน์โหลด (Docman) ภาพกิจกรรม (Phoca Gallery) เป็นต้น
โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) Module • เป็นโปรแกรมเสริมที่ช่วยในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลภายในมานำเสนอผ่านหน้า เว็บ แต่ก็มีบางโปรแกรมที่ถึงเอาข้อมูลจากภายนอกมาใส่ไว้ในเว็บของเราได้เช่นกัน • แสดงผลตามตำแหน่งหรือ Position ที่มีใน Template ตามที่เรากำหนดไว้ • การทำงานของ Module ทำให้เว็บไซต์ที่สร้างจาก Joomla CMS มีการนำเสนอข้อมูลที่มีความสวยงาม และหลากหลาย เช่น โมดูลการนำเสนอข้อมูลดัชนีซื้อขาย-หลักทรัพย์ โมดูลแสดงรายการบทความใหม่ โมดูลแสดงสถิติผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ เป็นต้น • Joomla CMS มีโมดูลจำนวนมากที่จะช่วยทำให้เว็บของเรานำเสนอข้อมูลได้น่าสนใจ การติดตั้งโมดูลก็ทำตามปกติ ดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ www.joomla.org เลือกหาโมดูลที่ชอบ แล้วดาวน์โหลดลงมา หลังจากนั้นก็ติดตั้งเข้าไปเป็นอันใช้ได้
โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) Plug-in • เป็นส่วนแก้ไขเพิ่มเติมให้กับโปรแกรมหลักเพื่อเพิ่มความสามารถให้กับความสามารถเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทำงานได้ดียิ่งขึ้น เช่น การค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ ถ้ามีการเพิ่มเติม Component เกี่ยวกับปฏิทินกิจกรรมเข้าไป ก็จะต้องไปเพิ่มความสามารถให้กับฟังก์ชั่นการค้นหาให้รู้จักกับฐานข้อมูล ปฏิทินกิจกรรม เป็นต้น
โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) Template • เป็นรูปแบบเว็บไซต์ ที่แสดงกราฟิกหรือหน้าตา สไตล์ของเว็บไซต์ • การเลือก Template ควรเลือกที่มีโทนสีที่สบายตา และมีตำแหน่งต่างๆ (Position) ตามที่เราต้องการ • Template ที่เลือกใช้ ควรสามารถนำมาปรับแก้ไขได้ง่าย
School Administrative Unit 21 Technology Department
Joomla Structure footer
http://www.siteground.com/joomla-hosting/joomla-templates.htmhttp://www.siteground.com/joomla-hosting/joomla-templates.htm
ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Joomla http://www.raikhingonline.org/
ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Joomla http://www.moe.go.th/strategy4/
ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Joomla http://www.edtechno.com
แหล่งข้อมูลในการศึกษาเพิ่มเติมแหล่งข้อมูลในการศึกษาเพิ่มเติม ----- ต่างประเทศ ------ http://www.joomla.org http://www.joomlaos.de http://www.joomlashack.com http://www.joomla-templates.com http://www.joomlahacks.com http://www.joomlart.com ------ Joomla ในไทย -------- http://www.joomlasiam.com http://www.joomlacorner.com http://www.joomlalaithai.com http://www.thailandcms.com
ข้อมูลอ้างอิง • ดร.วรัท พฤกษากุลนันท์ • www.edtechno.com