1 / 53

Lean Manufacturing

Lean Manufacturing. Industrial Engineering. What’s Lean?. What’s Lean?. History of Lean. History of Lean. ผลิตเฉพาะสินค้า หรือ ชิ้นส่วนที่จำเป็น ตามเวลาที่ต้องการ ภายในระยะเวลาที่กำหนด โดย มุ่งกำจัดความสูญเปล่า และคงคุณถาพให้ดียิ่งๆขึ้นไป. วิวัฒนาการของลีน. Craft

Gabriel
Download Presentation

Lean Manufacturing

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Lean Manufacturing Industrial Engineering

  2. What’s Lean?

  3. What’s Lean?

  4. History of Lean

  5. History of Lean • ผลิตเฉพาะสินค้า หรือ ชิ้นส่วนที่จำเป็น ตามเวลาที่ต้องการ ภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยมุ่งกำจัดความสูญเปล่า และคงคุณถาพให้ดียิ่งๆขึ้นไป

  6. วิวัฒนาการของลีน Craft Production Lean Production Differentiation / Flexible Mass Production LOW COST

  7. หลักการ 5 ประการของลีน (5 Leans Principles)

  8. ความสูญเปล่า 7 ประการ(7 Wasteor MUDA)

  9. ความสูญเปล่า(Waste) • หรือภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า“มุดะ(Muda)”คือการกระทำใดๆก็ตามที่ใช้ทรัพยากรไปไม่ว่าจะเป็นแรงงานวัตถุดิบเวลาเงินหรืออื่นๆแต่ไม่ทำให้สินค้าหรือบริการเกิด “คุณค่าหรือการเปลี่ยนแปลง” มีอยู่ 7 ประการดังนี้

  10. Seven Wastes Over Production ผลิตเกินความจำเป็น Transportation การขนย้าย Inventory สินค้าคงคลัง Motionการเคลื่อนไหว Defect ของเสีย Excess Processingกระบวนการผลิตเกินจำเป็น Waiting การรอคอย

  11. การผลิตมากเกินความจำเป็น (Over Production) การผลิตสินค้ามากกว่าที่ลูกค้าต้องการและการผลิตสินค้าก่อนความต้องการ

  12. 2. การมีสินค้าคงคลังมากเกินความจำเป็น (Excess Inventory) • สินค้าคงคลัง ประกอบด้วย • การมีวัตถุดิบ (RM) • งานระหว่างกระบวนการผลิต (WIP) • สินค้าสำเร็จรูป (FG) • วัสดุสิ้นเปลือง อะไหล่ การมีสินค้าคงคลังมากเกินความจำเป็นทำให้การไหลของผลิตภัณฑ์ (Flow) ไม่ดีเท่าที่ควร

  13. 3. การมีของเสีย (Defects) การผลิตของเสียส่งผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุนและเมื่อไม่สามารถควบคุมอัตราของเสียได้ย่อมมีผลกระทบต่อการวางแผนการผลิตและการส่งมอบสินค้าได้นอกจากนั้นการมีของเสียหลุดไปถึงลูกค้ายังมีผลต่อความเชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์อีกด้วย

  14. 3. การมีของเสีย (Defects)

  15. 4. การมีกระบวนการที่ไม่จำเป็น (Unnecessary Processing) การมีขั้นตอนการผลิตที่มากเกินความจำเป็นทำให้เกิดความล่าช้าในการผลิตซึ่งทำให้กระทบต่อการจัดส่งสินค้าได้ทั้งยังทำให้เกิดความเมื่อยล้าต่อพนักงานและเป็นต้นทุนอีกด้วย

  16. 5. การรอคอย (Waiting) การรอคอยต่างๆไม่ให้ประโยชน์ต่อการผลิตเป็นการเสียเวลาโดยไม่ได้ผลผลิตเช่นการรอวัตถุดิบรออุปกรณ์รอคนงานรอเครื่องจักรรออะไหล่รอคำสั่งรอการขนย้ายรอการตรวจสอบรอการตัดสินใจเป็นต้น

  17. 5. การรอคอย (Waiting)

  18. 6. การเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่จำเป็น (Unnecessary Motion) การเคลื่อนไหวร่างกายมากเกินความจำเป็นทำให้สูญเสียเวลาในการผลิตและเกิดความเมื่อยล้า

  19. 7. การขนย้ายที่ไม่จำเป็น (Unnecessary Transportation) การขนส่งขนย้ายที่มากเกินไปหรือมีระยะทางที่ยาวไกลส่งผลกระทบต่อต้นทุนและเวลาในการผลิต

  20. เครื่องมือและปัจจัยที่สนับสนุนแนวความคิดของลีนเครื่องมือและปัจจัยที่สนับสนุนแนวความคิดของลีน

  21. 5S

  22. Production ControlKanban System(supermarket method)

  23. Jidoka Automation with a human touch = Autonomation Type G Toyoda Automatic Loom Origin of Jidoka Concept of Jidoka

  24. การป้องกันความผิดพลาด (Poka-Yoke)

  25. Kaizen : การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

  26. P-D-C-A Cycle

  27. ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี ( Just-in-Time Production Systems) : JIT

  28. Takt time : การกำหนดจังวะการผลิต การทำให้อัตราการผลิตสอดคล้องกับอัตราการขายสินค้า

  29. TOTAL PRODUCTIVE MAINTENANCE (TPM)การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม

  30. Visual Control: การควบคุมด้วยสายตา

  31. Example of a Production Flow Matrix Source: www.maskell.com

  32. ประโยชน์และข้อดีข้อเสียของลีนประโยชน์และข้อดีข้อเสียของลีน ข้อดี • 1 ไม่มีต้นทุนจมกับของคงคลัง • 2 มีความยืดหยุ่นสูงสามารถปรับกระบวนการได้ง่าย • 3 สามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงที • 4 พนักงานทุกฝ่ายมีการรับทราบข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและทั่วถึง • 5 การเงินมีสภาพคล่องสูง • 6 มีการขจัดความสูญเปล่าอย่างต่อเนื่อง • 7 ทำให้ศักยภาพการแข่งขันสูงอยู่ตลอดเวลา • 8ทำให้กระบวนการสามารถผลิตสินค้าเพื่อสนองตอบความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของลูกค้าได้อย่าง

  33. ประโยชน์และข้อดีข้อเสียของลีนประโยชน์และข้อดีข้อเสียของลีน ข้อดี(ต่อ) • 9 ช่วยให้องค์กรมีการเติบโตที่ยั่งยืน • 10 องค์กรมีประสิทธิภาพในด้านการสื่อสาร และประสิทธิภาพในการทำงานที่ดี • 11 ต้นทุนในการผลิตลดลง • 12 มีผลการปรับปรุงเพิ่มขึ้น หรือลดลงอย่างน้อย 10% • 13 ต้นทุนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุม • 14 เสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรในองค์การสู่ความเป็นเลิศในการผลิต

  34. ประโยชน์และข้อดีข้อเสียของลีนประโยชน์และข้อดีข้อเสียของลีน ข้อเสีย • 1 ยากต่อการสื่อสารและทำความเข้าใจ • 2 เกิดการสูญเสียจากการเปลี่ยนรุ่นการผลิตของเครื่องจักร • 3 เกิดการสูญเสียจาก อัตราการใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรอุปกรณ์ • 4 ยากต่อการบริหารและการจัดการ การเปลี่ยนแปลง • 5 มีความยุ่งยากในการวางแผนและควบคุมการผลิต • 6 ต้องการความร่วมมือจากผู้ผลิตจากภายนอก (Supplier) • 7 ต้องสร้างแรงงานแบบหลายทักษะ • 8 ผ้กำหนดการเริ่มโครงการลีนเข้าสู่องค์กร ต้องมีการยอมรับด้วยว่า ลีน เป็นหนทางสู่การปรับปรุง ไม่ใช่เป็นเพียงแค่การสั่งการเท่านั้น

  35. กรณีศึกษา โรงงานตัวอย่างในสายการผลิต STEPPING MOTOR LPD4–001

  36. วัตถุประสงค์ • ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตของโรงงานตัวอย่างในสายการผลิตSTEPPING MOTOR LPD4–001 ซึ่งเป็นกระบวนการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์ขับเคลื่อนภายในกล้องถ่ายรูป • การปรับปรุงประสิทธิภาพตามแนวคิดระบบการผลิตแบบลีน (Lean Manufacturing) โดยใช้ Balanced Scorecard: BSC ในการวัดและประเมินผลเพื่อเลือกหาแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานที่เหมาะสมที่สุด

  37. วิธีการศึกษา • 3.1 ศึกษาทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง • 3.2 สร้างแบบจำลองระบบการผลิตของสายการผลิตที่ทำการศึกษา • 3.3 การทดสอบความถูกต้องของแบบจำลอง • 3.4 การกำหนดดัชนีการวัดและประเมินผลเชิงดุลยภาพจากตัวแปรตามในแบบจำลอง • 3.5 วิเคราะห์ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตในปัจจุบัน • 3.6 เสนอแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานตามแนวคิดแบบลีน

  38. การปรับปรุงโดยใช้วิธีเพิ่มและลดจำนวนพนักงานและเครื่องมือการปรับปรุงโดยใช้วิธีเพิ่มและลดจำนวนพนักงานและเครื่องมือ • ลดความสูญเปล่าจากการรอคอย • ความสูญเปล่าจากการเก็บวัสดุคงคลัง • ความสามารถในการผลิต (Productivity) และจำนวนชิ้นงานระหว่างการผลิต(WIP) ดีขึ้น

  39. การปรับปรุงโดยใช้วิธีเพิ่มและลดจำนวนพนักงานและเครื่องมือการปรับปรุงโดยใช้วิธีเพิ่มและลดจำนวนพนักงานและเครื่องมือ • เพิ่มพนักงานที่สถานีงาน Pin Pitch Check จาก 1 คนเป็น 2 คน และลดพนักงาน ในสถานีงานจาก 2 คน ให้เหลือ 1 คน • พบว่าสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ได้เพิ่มขึ้น จาก 122,603 ชิ้น เป็น 150,896 ชิ้นในระยะ เวลา 20 วันทำงาน และจำนวนพนักงาน จะลดลงจาก 60 คน เหลือ 56 คน

  40. ผลจากการปรับปรุงโดยใช้วิธีเพิ่มและลดจำนวนพนักงานและเครื่องมือผลจากการปรับปรุงโดยใช้วิธีเพิ่มและลดจำนวนพนักงานและเครื่องมือ

  41. การปรับปรุงโดยใช้วิธีการลดการเคลื่อนย้ายวัสดุ (Handling Reduction) • ช่วยลด ความสูญเปล่าจากการขนย้าย (Waste of Transportation) และความสูญเปล่าจากการเคลื่อนไหว (Waste of Motion) • โดยพิจารณาการจัดวางผังสายการผลิตในปัจจุบัน พบว่าการวางตำแหน่งของสถานีงานในสายการผลิตย่อย ไม่สัมพันธ์กันในขั้นตอนของการส่งชิ้นงานให้กับสายการ ประกอบ ทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายและเคลื่อนไหว โดยไม่จำเป็น

  42. การปรับปรุงโดยใช้วิธีการลดการเคลื่อนย้ายวัสดุ (Handling Reduction) • ปรับปรุงโดยย้ายสถานีงาน COVER Ass’y มาอยู่ใกล้สายการประกอบหลักมากขึ้นเพื่อสะดวกในการส่งชิ้นงานระหว่างกัน • พบว่า สายการผลิตใหม่ได้ผลิตภัณฑ์จำนวนเท่าเดิม แต่จะช่วยลดจำนวนชิ้นงานระหว่างผลิตที่ awaiting case2 จาก 4,800 ชิ้น เหลือ 0 ชิ้นและที่ awaiting magnet3 จาก 28,812 ชิ้น เหลืออยู่ 7 ชิ้น

  43. ผลจากการปรับปรุงโดยใช้วิธีการลดการเคลื่อนย้ายวัสดุ (Handling Reduction)

  44. ผลจากการปรับปรุงโดยใช้วิธีการลดการเคลื่อนย้ายวัสดุ (Handling Reduction)

  45. การปรับปรุงโดยใช้การทำสมดุลสายการผลิต(Line Balancing) • ลดความสูญเปล่าและการรอคอยที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต อันได้แก่ ความสูญเปล่าจากการ ปรับปรุงจุดที่เป็นปัญหาคอขวดของสายการผลิต

  46. การปรับปรุงโดยใช้การทำสมดุลสายการผลิต(Line Balancing)

More Related