1 / 12

โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์

วิชาสมุทรศาสตร์. โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์. E-mail : anukul@bucc4.buu.ac.th Homepage : http://www.sci.buu.ac.th/~anukul. ความหมายของคำว่า “ สมุทรศาสตร์ ”. Oceanography. มาจาก Ocean + geography. มหาสมุทร. ลักษณะทางภูมิศาสตร์.

Download Presentation

โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาสมุทรศาสตร์ โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ E-mail : anukul@bucc4.buu.ac.th Homepage : http://www.sci.buu.ac.th/~anukul Introduction

  2. ความหมายของคำว่า “ สมุทรศาสตร์ ” Oceanography มาจาก Ocean + geography มหาสมุทร ลักษณะทางภูมิศาสตร์ * เป็นการศึกษาที่มีเป้าหมายเพื่อทำแผนที่มหาสมุทร Introduction

  3. น้ำในโลกมาจากไหน ? • ดาวดวงอื่นมีน้ำอยู่หรือเปล่า ? จำเป็นต้องทราบว่าโลกหรือดวงดาวต่าง ๆ เกิดมาได้อย่างไร BigBang Expansion Galaxy, Star Nebula Supernova Introduction

  4. ข้อสังเกตบางประการของการเกิดระบบสุริยะจักรวาลข้อสังเกตบางประการของการเกิดระบบสุริยะจักรวาล • ดาวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก ๆ เช่น ดาวพุธ มีองค์ประกอบ เป็นสารโลหะ เช่น เหล็ก • ดาวที่อยู่ห่างออกมาจะมีองค์ประกอบเป็นพวกสาร แมกนีเซียม, ซิลิคอน, น้ำ และ ออกซิเจน เพิ่มเข้ามา • ดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างออกไปจากดวงอาทิตย์มาก ๆ จะพบ องค์ประกอบเป็นพวกสารมีเทน และ แอมโมเนีย ทำไม ? Introduction

  5. density stratification โลกจึงเป็นโลกอย่างที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน • ปัจจัยที่เหมาะสม ทำให้โลกยังคงมีน้ำอยู่จนทุกวันนี้ - ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ - แรงดึงดูดจากมวลของโลก Introduction

  6. ข้อมูลจำเพาะของโลกและมหาสมุทรข้อมูลจำเพาะของโลกและมหาสมุทร • Land 29.22% , Ocean and Seas 70.78% 149 ล้าน ตร.กม.+ 361 ล้าน ตร.กม. = 510 ล้าน ตร.กม. • รัศมีที่ equator 6,378 กม. รัศมีที่ขั้วโลก 6,357 กม. • สูงสุดของโลก Mount Everest 8,848 เมตร ลึกสุดของโลก Mariana Trench 11,035 เมตร • ความลึกเฉลี่ยของมหาสมุทรในโลก 3,800 เมตร Introduction

  7. ข้อมูลจำเพาะของโลกและมหาสมุทร (ต่อ) • มวลของโลก 5,976 x 1021กก. มวลของทะเลและมหาสมุทร 1.14 x 1021 กก. • รัศมีเฉลี่ยของโลก 6,371 กม. ความลึกเฉลี่ย 3.8 กม. ดังนั้นมหาสมุทรเปรียบเป็นแค่ฟิล์มบาง ๆ ที่ห่อหุ้มโลกอยู่ เท่านั้น Introduction

  8. ลักษณะสำคัญของมหาสมุทรต่าง ๆ ในโลก • มหาสมุทรแปซิฟิก • มหาสมุทรแอตแลนติก และ ทะเลอาร์คติก • มหาสมุทรอินเดีย Introduction

  9. มหาสมุทรแปซิฟิก • มีขนาดใหญ่ที่สุด มีพื้นที่มากกว่ามหาสมุทรแอตแลนติกและอินเดียรวมกัน • ลึกเฉลี่ย 3,940 เมตร และลึกที่สุด • มีเหวทะเล (trenches) มาก จุดที่ลึกที่สุดชื่อ Challenger deep อยู่ใน Mariana Trench • Pacific Ring of Fires • มี Marginal Sea อยู่ทางตะวันตก คือ ทะเลโอโคส (Okhotck), ทะเลญี่ปุ่น, ทะเลเหลือง, ทะเลจีนตะวันออก, ทะเลจีนใต้ Introduction

  10. มหาสมุทรแอตแลนด์ติก • แคบกว่ามหาสมุทรแปซิฟิก • มีสันเขากลางมหาสมุทรทอดตัวยาวตลอดแนวมหาสมุทร จากซีกโลกเหนือมายังซีกโลกใต้ • มี adjacent seas ได้แก่ Mediteranian, Baltic, North, Norwaygian และ Caribbean sea อยู่ทางด้านตะวันออก • ทางด้านตะวันตกมี Gulf of Mexico • มีแม่น้ำสายใหญ่หลายสาย เช่น Amazon, Congo และ Mississippi ไหลสู่มหาสมุทร • ตื้นที่สุด ลึกเฉลี่ย 3,310 เมตร Introduction

  11. มหาสมุทรอินเดีย • พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ใต้ Equator • มี Marginal Sea ที่สำคัญคือ Persian Gulf และ Red Sea • ลึกเฉลี่ย 3,840 เมตร Introduction

  12. คลิกปุ่มใดๆเพื่อเริ่มต้นใหม่คลิกปุ่มใดๆเพื่อเริ่มต้นใหม่ หรือ กด Back เพื่อย้อนกลับ Introduction

More Related