1 / 36

โดย น.ต .หญิง เปรมใจ สุขศิริ นักวิชาการสาธารณสุข กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารเรือ

ประสิทธิผลของโปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุง ในกลุ่ม Metabolic Syndrome ของกำลังพล กองทัพเรือ พื้นที่สัตหีบ จังหวัดชลบุรี. โดย น.ต .หญิง เปรมใจ สุขศิริ นักวิชาการสาธารณสุข กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารเรือ. ชาย รอบเอว 90 ซม. หญิง รอบเอว 80 ซม. ประชากร 1 พันล้านคน เป็นโรคอ้วน 300 ล้านคน. 8 ปี

krysta
Download Presentation

โดย น.ต .หญิง เปรมใจ สุขศิริ นักวิชาการสาธารณสุข กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารเรือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประสิทธิผลของโปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุงในกลุ่ม Metabolic Syndromeของกำลังพล กองทัพเรือ พื้นที่สัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดย น.ต.หญิง เปรมใจ สุขศิริ นักวิชาการสาธารณสุข กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารเรือ

  2. ชาย รอบเอว 90 ซม.หญิง รอบเอว 80 ซม.

  3. ประชากร 1 พันล้านคน เป็นโรคอ้วน 300 ล้านคน 8 ปี ข้างหน้า โรคอ้วนถึง 1.5 พันล้านคน ความเป็นมาและความสำคัญปัญหา (WHO, 2007)

  4. ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก พบว่าคนไทยมีน้ำหนักเกิน ติดอันดับ 5 ของเอเชีย (InterAsia Collaborative group, 2003) ความเป็นมาและความสำคัญปัญหา (ต่อ)

  5. ประเทศไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข, 2549

  6. สถานการณ์อ้วน กำลังพล ทร. ภาวะเสี่ยงอ้วนลงพุง 15.8% พ.ศ.2551 15.6% ภาวะอ้วนลงพุง กำลังพล ทร. (สัตหีบ) การเสียชีวิต ภาวะอ้วนลงพุง 34% พ.ศ.2552 21.8% กำลังพล ทร. (สัตหีบ) การเสียชีวิต กรมแพทย์ทหารเรือ, 2550-2552 ภาวะอ้วน 25% (1 ใน 4 ของกำลังพล ทร.ทั้งหมด) กำลังพล ทร. ข้อมูลสถิติ

  7. ส่งผลกระทบต่อ อารมณ์ สังคม จิตใจ ร่างกาย ด้านเศรษฐกิจ มีการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่สำคัญโดยคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 2-6 ของงบประมาณด้านสุขภาพของประเทศ (WHO, 2007) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (ต่อ)

  8. การวิจัยนี้ประยุกต์แบบแผนการส่งเสริมสุขภาพการวิจัยนี้ประยุกต์แบบแผนการส่งเสริมสุขภาพ ของเพนเดอร์ ลดอุปสรรค รับรู้ประโยชน์และความสามารถตนเอง การปฏิบัติพฤติกรรมลดอ้วนลดพุง สนับสนุนจากอิทธิพลระหว่างบุคคลที่เหมาะสม กับบริบทของกองทัพ โดยผู้บังคับบัญชามีส่วนร่วม ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (ต่อ)

  9. 1. เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของกำลังพล กองทัพเรือ ระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯในเรื่องการรับรู้ และการปฏิบัติพฤติกรรม 2. เพื่อเปรียบเทียบผลการเปลี่ยนแปลงระดับไขมันในเลือด น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต รอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย ระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ วัตถุประสงค์

  10. 1. กำลังพล กองทัพเรือในกลุ่มทดลองจะมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ และการปฏิบัติพฤติกรรมดีขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ 2. กำลังพล กองทัพเรือในกลุ่มทดลองมีระดับไขมันในเลือด น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต รอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย ลดลงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ 12 สัปดาห์ หลังเข้าร่วมโปรแกรม สมมติฐาน

  11. แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ www.themegallery.com

  12. กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น • การรับรู้ประโยชน์ • การรับรู้อุปสรรค • การรับรู้ความสามารถตนเอง • ความมุ่งมั่น • อิทธิพลระหว่างบุคคล • การปฏิบัติพฤติกรรม โปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุงของกำลังพล ทร.ฯ ที่ประยุกต์ แบบแผนการส่งเสริมสุขภาพ ของเพนเดอร์ • ระดับไขมันในเลือด • น้ำตาลในเลือด • ความดันโลหิต • รอบเอว • ค่าดัชนีมวลกาย www.themegallery.com

  13. ระเบียบวิธีวิจัย Quasi-Experimental Research Twogrouppretest-posttestdesign www.themegallery.com

  14. ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) เกณฑ์คัดเข้า • กลุ่มตัวอย่าง เป็นกำลังพล กองทัพเรือ • การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง - ใช้ Power Analysis Effect size = 0.80 (Polit & Hungler, 1999) - ได้กลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 42 คนต่อกลุ่ม ป้องกันการสูญหายเพิ่ม 20% ได้กลุ่มละ 50 คน *BMI > 25 + Criteria อย่างน้อย 1 อย่าง 1. HDL < 40 ในผู้หญิง , < 50 ในผู้ชาย 2. TG > 150 mg/dl. 3. BP > 130/85 mmHg 4. FBS > 100 mg/dl. สมัครใจเข้าร่วมโครงการวิจัยฯ (กระทรวงสาธารณสุข, 2549) เกณฑ์คัดออก ไม่เข้าร่วมตลอดงานวิจัย

  15. ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) กลุ่ม เป้าหมาย 2 กลุ่ม ระยะ เวลา

  16. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. โปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุง 2. คู่มือและแนวทางการลดภาวะอ้วนลงพุง 3. สมุดบันทึกพฤติกรรมการลดภาวะอ้วนลงพุง 4. สื่อวีดิทัศน์ตัวแบบในเรื่องการปฏิบัติตน กิจกรรมมีจำนวน 3 ครั้ง นาน 12 สัปดาห์

  17. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ) • 2. แบบสอบถาม วัดการรับรู้ , ความมุ่งมั่น, อิทธิพลระหว่างบุคคล, การปฏิบัติพฤติกรรม • 3. การตรวจวัดระดับไขมันในเลือด น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต รอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย (BMI) Pretest - Posttest สัปดาห์ที่ 1 และ 12

  18. วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน • ภายในกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบด้วยสถิติ Paired t-test และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบด้วย Independent t-test โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติในการทดสอบสมมติฐานที่  .05 การวิเคราะห์ข้อมูล

  19. ครั้งที่ 1 (สัปดาห์ที่ 1) “เพิ่มประโยชน์ และลดอุปสรรคในการลดอ้วนลดพุง” สร้างความตระหนักให้เห็นประโยชน์และรู้แนวทางการจัดการสิ่งที่รับรู้ว่าเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติ โปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุง ได้รับคำแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ การดำเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล

  20. แพทย์แนะนำเกี่ยวกับโรค Metabolic Syndrome วิเคราะห์พฤติกรรมตนเอง

  21. คำนวณพลังงานอาหารจากนักโภชนาการคำนวณพลังงานอาหารจากนักโภชนาการ นักโภชนาการแนะนำอาหารที่เหมาะสม ครั้งที่ 2 เพิ่มความสามารถตนในการลดอ้วนลดพุง

  22. ฝึกประเมินอาหารแต่ละชนิดฝึกประเมินอาหารแต่ละชนิด จัดกาแฟใส่นมขาดมันเนย(อาหารว่าง)

  23. ฝึกทักษะการออกกำลังกายโดยนักเวชศาสตร์การกีฬาฝึกทักษะการออกกำลังกายโดยนักเวชศาสตร์การกีฬา ฮูลาฮูปลดพุง www.themegallery.com

  24. ให้คำแนะนำตามปกติจากพยาบาลแผนกตรวจสุขภาพประจำปีให้คำแนะนำตามปกติจากพยาบาลแผนกตรวจสุขภาพประจำปี • ปฏิบัติตนไปตามนโยบายกองทัพเรือ โดยมีการออกกำลังกายทุกบ่ายวันพุธ กลุ่มเปรียบเทียบ

  25. ผลการวิจัย ร้อยละ

  26. www.themegallery.com

  27. www.themegallery.com

  28. www.themegallery.com

  29. ผลการวิจัย รอบเอว BMI ความดันโลหิต ก่อนทดลอง หลังทดลอง

  30. ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง เปรียบเทียบก่อนและหลังการทดลอง น้ำหนัก 84.8 kgs. รอบเอว 104 cms. น้ำหนัก 84 kgs. รอบเอว 98 cms.

  31. สรุปผลการวิจัย • โปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุงของกำลังพล กองทัพเรือ พื้นที่สัตหีบ จังหวัดชลบุรีที่ประยุกต์ตามแบบแผนการส่งเสริมสุขภาพของ Pender • สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของกำลังพล กองทัพเรือ และส่งผลให้ปัจจัยที่เกี่ยวกับ Metabolic Syndrome ลดลงจากเดิม • ดังนั้นโปรแกรมนี้ สามารถประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับกำลังพล กองทัพเรือ และกองทัพอื่นที่มีปัญหาด้านสุขภาพจากพฤติกรรมการบริโภคและขาดการออกกำลังกาย

  32. หน่วยแพทย์ในกองทัพ สามารถนำ โปรแกรมนี้ไปใช้กับกำลังพลที่มีการปฏิบัติ พฤติกรรมไม่ถูกต้อง ควรจัดทำคู่มือการส่งเสริมการปฏิบัติตน ด้านการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกาย ให้ผู้บังคับบัญชาระดับต้น ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ ควรมีการติดตามผลเช่น 4 , 6 เดือน และติดตามการคงอยู่ของพฤติกรรม

  33. ขอขอบคุณ ที่ปรึกษา แหล่งทุนวิจัย 1. พล.ร.ต.เผดิมพงศ์ รุมาคม 2. พล.ร.ต.วิเชียร นาวินพิพัฒน์ 3. น.อ.หัสกร หาญสมบูรณ์ • สมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ครั้งที่ 55 • ที่ให้โอกาสในการ • นำเสนอผลงานวิจัย 35 35

  34. ขอบคุณค่ะ

More Related