1 / 96

ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551

ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551. กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล. การเบิกเงิน การจ่ายเงิน การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำเงินส่งคลัง การจัดทำรายงานและงบการเงิน. สาระสำคัญของระเบียบ ฯ. การเบิกเงินเพื่อการใดต้องนำไปจ่ายเพื่อการนั้น. หลักการ

Download Presentation

ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลังระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล

  2. การเบิกเงิน การจ่ายเงิน การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำเงินส่งคลัง การจัดทำรายงานและงบการเงิน สาระสำคัญของระเบียบ ฯ

  3. การเบิกเงินเพื่อการใดต้องนำไปจ่ายเพื่อการนั้นการเบิกเงินเพื่อการใดต้องนำไปจ่ายเพื่อการนั้น หลักการ เบิกจ่ายเงิน จากคลัง จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้เฉพาะที่มีกม. ระเบียบ ข้อบังคับคำสั่ง มติครม. หรือ กค.อนุญาตให้จ่ายได้ หนี้ต้องถึงกำหนดชำระหรือใกล้จะถึงกำหนดชำระ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีนั้น

  4. ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีนั้น เว้นแต่ การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปี ค่าใช้จ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายเมื่อ ได้รับแจ้งให้ชำระหนี้ เงินยืมคาบเกี่ยว

  5. ค่าใช้จ่ายที่ถือว่าเป็นรายจ่ายเมื่อได้รับแจ้งให้ชำระหนี้ค่าใช้จ่ายที่ถือว่าเป็นรายจ่ายเมื่อได้รับแจ้งให้ชำระหนี้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นไม่ว่าเดือนใด ค่าใช้จ่ายเฉพาะเดือน ส.ค.-ก.ย. • ค่าเช่าบ้านข้าราชการ • ค่าบอกรับสิ่งพิมพ์ • ค่าขนส่ง • ค่ากำจัดขยะมูลฝอย • ค่าน้ำค่าไฟฟ้าค่าโทรศัพท์ • ค่าเช่าคู่สายโทรศัพท์ค่าติดตั้งโทรศัพท์ • ค่าฝากส่งไปรษณียภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์ ที่ชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน • ค่าเช่าวิทยุโทรศัพท์เคลื่อนที่ • ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้เครื่องโทรสาร ที่ขึ้นทะเบียนเป็นครุภัณฑ์ของทางราชการ • ค่าใช้จ่ายในการเช่าใช้บริการวิทยุติดตามตัว เพื่อใช้ในการปฏิบัติราชการสำคัญ กรณีเร่งด่วน • ค่าเช่าบริการสัญญาณเคเบิลทีวี

  6. เงินยืมคาบเกี่ยว เป็นการยืมเงินงบประมาณปีปัจจุบัน เพื่อไปใช้จ่ายในปีงบประมาณถัดไป ซึ่งเวลาปฏิบัติราชการในปีปัจจุบันคาบเกี่ยวไปในปีงบประมาณถัดไป • ระยะเวลาการยืมเงินคาบเกี่ยว ค่าใช้จ่ายไปราชการไม่เกิน 90 วัน ค่าใช้จ่ายปฏิบัติราชการอื่นไม่เกิน 30 วัน

  7. การเบิกเงิน การเบิกเงินให้ใช้ระบบ GFMIS ให้ออกคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ ขรก. มีหน้าที่เป็นผู้มีสิทธิใช้งาน เพื่อถือบัตรกำหนด สิทธิการใช้ รหัสผู้ใช้ และรหัสผ่าน เพื่อทำหน้าที่ บันทึกข้อมูลและเรียกรายงานในระบบและกำหนด แนวทางการควบคุมในการเข้าใช้งานในระบบ

  8. การเบิกเงิน • การซื้อ จ้าง เช่า เกิน 5,000บาท • ให้สร้างใบสั่งซื้อ/จ้าง ในระบบGFMIS • การซื้อ จ้าง เช่า เมื่อตรวจรับแล้ว • ให้เบิกเงินอย่างช้าไม่เกิน 5วันทำการ

  9. การจ่ายเงิน จะจ่ายได้เฉพาะที่มี กม. ระเบียบข้อบังคับ หรือ มติครม. อนุญาตให้จ่ายได้ ผู้มีอำนาจได้อนุมัติให้จ่ายได้ (ผู้อนุมัติจะลงลายมือชื่ออนุมัติในหน้างบหลักฐาน การจ่ายก็ได้) มีการตรวจสอบหลักฐานก่อนจ่ายและผู้มีอำนาจ ได้ลงชื่ออนุมัติจ่ายแล้ว เป็นรายจ่ายในการดำเนินการตามปกติ

  10. การจ่ายเงิน การจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิที่ไม่สามารถมารับเงินได้ต้อง มีใบมอบฉันทะ หรือใบมอบอำนาจให้ ผู้อื่นรับแทน หลักฐานการจ่ายให้เป็นไปตามที่ กค. กำหนด หรือ ตามที่ได้รับความเห็นชอบจาก กค. โอนสิทธิเรียกร้องได้ตาม ระเบียบ กค ห้ามเรียกใบเสร็จหรือให้ผู้รับลงชื่อรับเงินโดยยังไม่ได้ จ่ายเงิน

  11. การจ่ายเงินตามใบมอบฉันทะการจ่ายเงินตามใบมอบฉันทะ • ข้าราชการ ลูกจ้าง ผู้รับบำนาญ เบี้ยหวัด • ใช้ใบมอบฉันทะ การสั่งจ่าย จ่ายเช็คหรือเงินสด • ให้ผู้มอบหรือผู้รับมอบ • บุคคลภายนอกให้ใช้ใบมอบอำนาจ สั่งจ่ายผู้มอบอำนาจ ต้องได้รับอนุมัติจากผู้เบิกก่อน

  12. การจ่ายเงิน ให้ประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” ในหลักฐานการ จ่ายให้ผู้จ่ายเงินลงลายมือชื่อรับรองการจ่าย เงินพร้อมชื่อผู้จ่ายตัวบรรจง และวันเดือนปี ที่จ่ายกำกับไว้ในหลักฐานการจ่ายเงินทุกฉบับ

  13. การจ่ายเงิน การจ่ายเงินทุกรายการต้องบันทึกรายการ ในระบบในวันที่จ่าย ทุกสิ้นวันผู้ได้รับมอบหมายต้องตรวจสอบ รายการจ่ายเงินที่บันทึกไว้ในระบบ GFMIS กับหลักฐานการจ่ายในวันนั้น (ข้อ38) ต้องถือปฏิบัติทุกวัน

  14. หลักฐานการจ่าย สาระสำคัญของใบเสร็จรับเงิน • ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน • วัน เดือน ปี ที่รับเงิน • รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร • จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร • ลายมือชื่อผู้รับเงิน

  15. หลักฐานการจ่าย • กรณีส่วนราชการจ่ายเงินซึ่งไม่อาจเรียก บร.ให้ผู้รับเงินลง • ชื่อรับเงินในใบสำคัญรับเงิน • กรณี จนท.นำเงินไปจ่ายและไม่อาจเรียก บร. ให้ทำ • ใบรับรองการจ่าย โดยชี้แจงเหตุที่ไม่อาจเรียก บร.ได้ • กรณี บร. มีสาระไม่ครบถ้วน ให้ จนท. ผู้จ่ายทำใบรับรอง • การจ่าย และแนบ บร.นั้น ประกอบการตรวจสอบด้วย • กรณี ขรก/ล.จ สำรองเงินส่วนตัวจ่ายก่อน และไม่อาจ • เรียก บร.ได้ ให้ ทำใบรับรองการจ่ายเสนอต่อผู้มีอำนาจ • เมื่อได้รับคืนให้ลงชื่อรับเงินใน ใบสำคัญรับเงิน

  16. ที่ ................................... (ส่วนราชการเป็นผู้ให้) ใบสำคัญรับเงิน วันที่ ...... เดือน ................... พ.ศ............ ข้าพเจ้า ........................... ...................................อยู่บ้านเลขที่ ..................... ตำบล .................................. อำเภอ ................................ จังหวัด .................................. ได้รับเงินจากแผนกการ .....................................................จังหวัด ................................. ดังรายการต่อไปนี้ ลงชื่อ .....................................................

  17. ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงินใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน ส่วนราชการ ............................................. รวมทั้งสิ้น (ตัวอักษร ) ......................................................................................................... ข้าพเจ้า ........................................... ตำแหน่ง ................................................... กอง ........................... ขอรับรองว่ารายจ่ายข้างต้นนี้ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับได้ และข้าพเจ้าได้จ่ายไปในนามของราชการโดยแท้ (ลงชื่อ)........................…………....... วันที่ ........................................

  18. ใบรับรองการจ่าย 1. การจ่ายเงินในต่างประเทศ ซึ่งกม.หรือประเพณีนิยมของประเทศนั้น ๆ ไม่ต้องออกใบเสร็จ หรือ ออกให้แต่ไม่เป็นไปตามที่กระทรวงการกำหนด กรณีซึ่งตามลักษณะไม่อาจเรียกใบเสร็จได้ ค่าไปรษณียากร ค่ารถประจำทาง ค่าเรือรับจ้าง ใบสำคัญรับเงินสูญหาย ใบเสร็จรับเงินสูญหายไม่อาจขอสำเนาได้ ใบเสร็จรับเงินสาระไม่ครบ 5 ประการ

  19. หลักฐานการจ่าย หลักฐานการจ่ายสูญหาย กรณีสูญหายหลังจากเบิกเงินจากคลังแล้ว • บร.สูญหายให้ใช้สำเนา และผู้รับเงินรับรอง • หลักฐานการจ่ายอื่นสูญหาย ( เช่น ใบสำคัญรับเงิน) • หรือไม่อาจเรียกบร.ได้ ให้ผู้จ่ายทำใบรับรองการจ่าย • โดยชี้แจงเหตุผล พฤติการณ์ที่สูญหายหรือไม่อาจ • เรียกสำเนา บร.ได้ เสนอผู้หน.หน่วยงานเพื่อ • พิจารณาอนุมัติ

  20. หลักฐานการจ่าย หลักฐานการจ่ายสูญหาย กรณีหลักฐานการจ่ายสูญหายก่อนเบิก • บร.หายให้ขอสำเนา บร. • ไม่อาจขอสำเนา บร.ได้ให้ทำใบรับรองและชี้ แจงเพิ่มเติมว่ายังไม่เคยนำมาเบิกและหากพบ ก็จะไม่นำมาเบิก ก่อนขออนุมัติหน.ส่วนราชการ เมื่อจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิให้ลงชื่อในใบสำคัญรับเงิน เพื่อเป็นหลักฐานการจ่าย

  21. วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน • ให้จ่ายเป็นเช็ค ยกเว้นการจ่ายที่วงเงินต่ำ กว่า 5,000 บาท จะจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ • กรณีซื้อ/เช่า/จ้าง ให้ออกเช็คในนาม “เจ้าหนี้” ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก และ ขีดคร่อม • กรณีอื่นให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้/ผู้มี สิทธิ ขีดฆ่า คำว่า “หรือผู้ถือ” ออก และ จะขีดคร่อมหรือไม่ก็ได้

  22. วิธีปฏิบัติในการจ่ายเช็ควิธีปฏิบัติในการจ่ายเช็ค • กรณีสั่งจ่ายเช็คเพื่อขอรับเงินสดมาจ่ายให้ ออกเช็คสั่งจ่ายในนาม จนท.การเงิน และฆ่า คำว่า “หรือผู้ถือ” ออกห้ามออกเช็คจ่ายเงินสด • การเขียนจำนวนเงินในเช็คที่เป็นตัวเลขและ ตัว อักษรให้เขียนชิดคำว่า “บาท” หรือขีดเส้นหน้า จำนวนเงิน หรือขีดเส้นทั้งหน้าและหลังตัวอักษร

  23. การเบิกจ่าย เงินยืม

  24. เงินยืม หมายถึง เงินที่ส่วนราชการจ่ายให้แก่ บุคคลใด ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติ ราชการอื่น การจ่ายเงินยืม มี 2 ประเภท เงินงบประมาณ เงินทดรองราชกร

  25. เงินยืมงบประมาณ 1. รายการค่าจ้างชั่วคราว สำหรับค่าจ้างซึ่งไม่มีกำหนดจ่าย เป็นงวดแน่นอนเป็นประจำ แต่จำเป็นต้องจ่ายให้ลูกจ้างแต่ ละวันหรือแต่ละคราวเมื่อเสร็จงานที่จ้าง 2. รายการค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 3. รายการค่าสาธารณูปโภค เฉพาะค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข 4. งบกลาง เฉพาะที่จ่ายเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาบุตร เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว 5. งบรายจ่ายอื่น ๆ ที่จ่ายในลักษณะเกี่ยวกับ (1) (2) (3)

  26. เงินยืมทดรองราชการ 1.งบบุคลากร เฉพาะค่าจ้างซึ่งไม่มีกำหนดจ่ายเป็นงวดแน่นอนเป็นประจำแต่จำเป็นต้องจ่ายให้ลูกจ้างแต่ละวันหรือ แต่ละคราวเมื่อเสร็จงานที่จ้าง 2. งบดำเนินงาน ยกเว้นค่าไฟฟ้า 3. งบกลาง เฉพาะที่จ่ายเป็นเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตรและค่ารักษาพยาบาล 4. งบอื่นที่จ่ายในลักษณะเช่นเดียวกับ (1) และ (2)

  27. การจ่ายเงินยืม เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง/UC) • จ่ายได้ตามวัตถุประสงค์ของ เงินนั้น ๆ ยกเว้นกรณีเร่งด่วน ต้องได้รับอนุมัติจากหน.ส่วน

  28. การจ่ายเงินยืม กรณีผู้ยืมไม่มีเงินใด ๆ ที่ส่วนราชการจะหักคืนเงิน ยืมได้ ผู้ยืมต้องนำหลักทรัพย์วางประกันหรือหา บุคคลตามที่ กค.กำหนดมาทำสัญญาค้ำประกัน

  29. การจ่ายเงินยืม • ทำสัญญาเงินยืมตามแบบ กค. กำหนด 2 ฉบับ พร้อมประมาณการ • แสดงประมาณการค่าใช้จ่าย และกำหนด ส่งคืน (ยืมเท่าที่จำเป็น) • ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจตามระเบียบ • ห้ามให้ยืมรายใหม่โดยยังไม่ได้ชำระหนี้เก่า วิธีปฏิบัติ

  30. การจ่ายเงินยืม การจ่ายเงินยืมไปราชการภายในประเทศ จ่ายได้ไม่เกิน 90 วัน การจ่ายเงินยืมปฏิบัติราชการคาบเกี่ยวปี งปม.ใหม่จะเบิกเงินปีงบป.ปัจจุบันได้ กรณี เป็น คชจ.ไปราชการไม่เกิน 90 วัน และเป็น คชจ.ปฏิบัติราชการอื่นไม่เกิน 30 วัน

  31. ผู้มีอำนาจอนุมัติให้ยืมเงินผู้มีอำนาจอนุมัติให้ยืมเงิน 1. ส่วนราชการส่วนกลาง : หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ ระดับกรม หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ระดับ 7 ขึ้นไป 2. หน่วยงานสังกัดส่วนกลาง : หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของ งบประมาณสำนักงานหรือหัวหน้าหน่วยงานอยู่ในภูมิภาค ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมาย 3. ส่วนราชการในภูมิภาค : หัวหน้าส่วนราชการในภูมิภาค

  32. การใช้อำนาจอนุมัติการจ่าย ที่ กค 0422.32 ว.114 ลว. 3 พฤศจิกายน 2552 เรื่อง “แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการอนุมัติการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ ค่ารักษาพยาบาล ค่าการศึกษาของบุตรและค่าเช่าบ้านข้าราชการ” ผู้ได้รับมอบอำนาจอนุมัติการจ่าย ไม่มีสิทธิอนุมัติการจ่ายให้ตัวเอง เนื่อง จากการอนุมัติการจ่ายเงิน ถือเป็นคำสั่งทางปกครอง ตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539มาตรา13(1) เนื่องจากคู่กรณีเป็น ตนเองและมีส่วนได้เสียในคำสั่งทางปกครอง ดังนั้นต้องให้ผู้มีอำนาจที่ มอบหมายเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ หรือบุคคลอื่นในส่วนราชการเดียวกันที่ หน.ส่วนราชการผู้มอบมอบหมายให้เป็นผู้ใช้อำนาจอนุมัติสิทธิของผู้นั้นแทน

  33. การรับคืนเงินยืม • ออกใบรับใบสำคัญ (ตามแบบ กค.กำหนด) • บันทึกการรับคืนในสัญญายืมเงิน

  34. กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืนกำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน • ยืมไปราชการประจำต่าง สนง. หรือเดินทาง ไปรับราชการประจำต่างประเทศหรือเดินทาง กลับภูมิลำเนาให้ส่งคืนทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ธนาณัติ ภายใน 30 วัน นับจากวันรับเงิน • เดินทางไปราชการอื่นชั่วคราว ภายใน 15 วัน นับจากวันเดินทางกลับ • ยืมปฏิบัติราชการอื่นๆ ภายใน 30 วัน นับ จากวันรับเงิน

  35. กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืนกำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน สัญญาเงินยืมที่ครบกำหนดแล้วให้เร่งรัดและ ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาเงินยืมอย่างช้าไม่ เกิน 30 วัน นับแต่วันครบกำหนด และรายงาน หน.พิจารณาสั่งการบังคับตามสัญญาเงินยืม

  36. กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืนกำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน กรณี บค. มีเหตุทักท้วงผู้ยืมต้องแก้ไขให้ถูกต้องภายใน 15 วัน นับจากวันที่ได้รับการทักท้วง หากไม่ส่งคืนและ ไม่ชี้แจงให้ดำเนินการตามเงื่อนไขสัญญา โดยถือว่า ผู้ยืมยังไม่ส่งใช้เท่าจำนวนที่ทักท้วง

  37. การรับเงิน ออกใบเสร็จรับทุกครั้งที่มีการรับเงินสด เช็ค ดร๊าฟ การรับเงินบริจาคต้องออกใบเสร็จรับเงิน บันทึกการรับเงินในระบบในวันที่รับเงินนั้น

  38. การรับเงิน จนท.ที่รับเงินต้องได้รับแต่งตั้ง การส่งมอบเงินต้องตรวจสอบยอดเงินตาม สำเนาใบเสร็จรับเงินและมีหลักฐานลงชื่อรับส่ง เงินระหว่างกัน ให้จัดทำทะเบียนคุม บร.และรายงานการใช้ บร.ให้ หน่วยงานที่เบิก บร.มา ภายในวันที่ 31 ตุลาคม ของ ปี งปม.ถัดไป

  39. การรับเงิน • การจ่ายใบเสร็จให้ จนท.ไปจัดเก็บเงิน ให้มี หลักฐานการรับส่งใบเสร็จนั้นไว้ด้วย • ใบเสร็จรับเงินเล่มใดสำหรับรับเงินของปี งปม.ใด ให้ใช้รับเงินภายในปี งปม.นั้น ที่เหลือให้ปรุ เจาะ หรือประทับตราเลิกใช้ • กรณียกเลิกใบเสร็จ ต้องนำติดไว้กับสำเนาในเล่ม

  40. การรับเงิน • กรณีรับเงินหลังปิดบัญชีให้บันทึกรับในระบบใน วันทำการถัดไป • เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงิน ให้จนท.ผู้จัดเก็บเงิน ต้อง นำส่ง จนท. การเงิน • เจ้าหน้าที่การเงินต้องจัดทำรายงานเงินคงเหลือ ประจำวันเพื่อให้กรรมการตรวจนับ

  41. การรับเงิน ให้มีการตรวจสอบจำนวนเงินที่ จนท.จัดเก็บและนำส่ง กับหลักฐานและข้อมูลการรับที่บันทึกในระบบว่าถูกต้อง ครบถ้วน (ข้อ 78) เมื่อตรวจสอบถูกต้องแล้วให้แสดงยอดรวมทั้งสิ้น ตาม บร. ที่รับในวันนั้นไว้ในสำเนา บร.ฉบับสุดท้ายและ ลงลายมือชื่อกำกับ

  42. กรณีใบเสร็จรับเงินที่ยังไม่ได้ใช้สูญหายกรณีใบเสร็จรับเงินที่ยังไม่ได้ใช้สูญหาย 1. แจ้งความนับแต่ทราบว่าหาย 2. ติดประกาศยกเลิกไว้ในที่พบเห็นและ ตรวจสอบได้ง่าย 3.ทำหนังสือแจ้งเวียนการยกเลิกให้ส่วน ราชการต่างๆ ทราบ

  43. การเก็บรักษาเงิน การแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงินระดับ 3 หรือ เทียบเท่าในส่วนราชการนั้นอย่างน้อย 2 คน การแต่งตั้งกรรมการสำรองกรณีกรรมการไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้

  44. การเก็บรักษาเงิน เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงินให้จนท.การเงินจัดทำราย งานเงินคงเหลือ และส่งมอบให้กรรมการตรวจนับ กรรมการตรวจนับเงินสดคงเหลือ/เอกสารแทน ตัวเงิน ถูกต้องครบถ้วนตามรายงานเงินคงเหลือ ประจำวัน แล้วลงลายมือกรรมการทุกคน ก่อนเสนอ หน.หน่วยงาน

  45. การเก็บรักษาเงิน ในวันทำการถัดไป ให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน มอบเงินให้ จนท. การเงิน ลงลายมือชื่อรับเงินไว้ ในรายงานเงินคงเหลือประจำวันด้วย

  46. การนำเงินส่งคลัง เงินที่เบิกจากคลัง หากจ่ายไม่หมดหรือไม่ได้จ่ายให้นำส่ง คืนคลังภายใน 15 วันทำการ นับจากวันที่รับเงินจากคลัง และเงินที่จ่ายแล้วหากมีการเรียกคืนให้ส่งคืนคลังภายใน 15 วัน นับจากวันเรียกคืน เงินรายได้แผ่นดินให้นำส่งเดือนละ 1 ครั้ง หากวันใดเกิน 10,000 บาท ให้นำส่งภายใน 3 วันทำการถัดไป ผู้มีหน้าหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องนำส่งภายในวันที่ 7 เดือนถัดไป เงินนอกงบประมาณให้นำฝากคลังอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง

  47. การจัดทำรายงาน • รายงานประจำวัน • รายงานเงินคงเหลือประจำวัน • รายงานประจำเดือน • งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร • งบทดลอง • รายงานรายได้และค่าใช้จ่าย • รายงานเงินประจำงวด

  48. การจัดทำรายงาน • รายงานประจำปี • งบแสดงฐานะการเงิน • งบแสดงผลการดำเนินงาน • งบกระแสเงินสด • หมายเหตุประกอบงบการเงิน

  49. ความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย • ผู้จ่ายเงินที่ทำหน้าที่หักภาษีณที่จ่ายไม่นำเงินส่ง • ภายในกำหนดจะต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ • 1.5 ต่อเดือน • ผู้ทำหน้าที่หักภาษีณที่จ่ายไม่ยื่นแบบแสดงรายการ • ต้องรับผิดทางอาญาถูกปรับไม่เกิน2000.- • ผู้ที่เจตนาละเลยไม่ยื่นรายการเพื่อหลีกเลี่ยงต้อง • ระวางโทษปรับไม่เกิน5,000 บาทหรือทั้งปรับ • ทั้งจำ

  50. ก่อนจัดทำรายงานการเงินก่อนจัดทำรายงานการเงิน งบทดลองก่อนปรับปรุง รายการปรับปรุง งบแสดงฐานะการเงิน งบทดลองหลังปรับปรุง กระดาษทำการ งบแสดงผลการดำเนินงาน

More Related