1 / 36

คุณธรรม จริยธรรม หัวใจการพัฒนามนุษย์

คุณธรรม จริยธรรม หัวใจการพัฒนามนุษย์. กลุ่มธรรมปริทรรศน์. 1. พระอาลง แก้วอุดม 5114831199 2. พระมหาเตชินท์ อามาตย์เสนา 5114831187 3. นางสาวสุรีย์พร หล่ออุดมทรัพย์ 5114830039 4 . นายนนทพร เชื้อกรุง 5114830260 5 . นางวาสนา ทองสม 5114830303

shaun
Download Presentation

คุณธรรม จริยธรรม หัวใจการพัฒนามนุษย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คุณธรรม จริยธรรม หัวใจการพัฒนามนุษย์

  2. กลุ่มธรรมปริทรรศน์ 1. พระอาลง แก้วอุดม 5114831199 2.พระมหาเตชินท์ อามาตย์เสนา 5114831187 3.นางสาวสุรีย์พร หล่ออุดมทรัพย์ 5114830039 4. นายนนทพร เชื้อกรุง 5114830260 5. นางวาสนา ทองสม 5114830303 6. นายสมชาย มนตรีศรีศักดิ์ 5114830316 7. นางสาวอณิชภัทร สิทธิดำรงค์ 5114830749 8. นางสาวประภาภรณ์ ชมภู่ 5114830928 9. นางยุวดี ดีงามเลิศ 5114831014

  3. ประเด็นการนำเสนอ 3 ส่วน 1. ความหมาย 2. เนื้อหา/ทฤษฎี/การประยุกต์ 3. สรุป/วิเคราะห์ (โฟนอิน)

  4. ส่วนที่ 1 ความหมาย คุณธรรม (คุณทำ) = คุณ + ธรรม คุณ = คุณค่า, คุณประโยชน์, คุณงามความดี ธรรม = สิ่ง, สภาพ, กฎเกณฑ์, หลัก

  5. ความหมายโดยสรุป คุณธรรม คือ สิ่งหรือสภาพที่ เกิดขึ้นในจิต มีผลทำให้จิตอยู่ใน ภาวะที่ดีงามและพร้อมที่จะสร้างสรรค์ แต่สิ่งที่เป็นคุณและประโยชน์

  6. จริยธรรม = จริย + ธรรม จริย = ความประพฤติ, พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ธรรม = สิ่ง, สภาพ, กฎเกณฑ์, หลัก

  7. ความหมายโดยสรุป จริยธรรม คือ สภาพของความ ประพฤติ หรือพฤติกรรมการแสดงออกที่ พึงประสงค์

  8. พัฒนา ภาษาบาลี วัฒนา ภาษาอังกฤษ Development แปลว่า ความเจริญ หมายถึง การทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ เจริญขึ้น,กระบวนการที่ เปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่ง

  9. สโลแกนของบารัค โอบาม่า ในการหา เสียงคือ Change (การเปลี่ยนแปลง): We can believe it. (เราเชื่อมั่นได้) • พุทธศาสนา พูดถึง อนิจจัง (ความไม่เที่ยง = เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป)

  10. มนุษย์ = มนะ + อุษยะ มนะ หรือ มโน = ใจ อุษยะ = สูง ความหมายโดยสรุป มนุษย์ หมายถึง ผู้มีใจสูง, ผู้ที่ฝึกได้, ผู้มีเหตุผล, ผู้ที่พัฒนาได้

  11. ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ ในหมู่มนุษย์ทั้งหลาย ผู้ประเสริฐ คือผู้ที่ฝึกแล้ว คน = ชน (เกิดมา) ความหมายโดยสรุป คน หมายถึง ผู้ที่สักว่าเกิดมา (ผู้มีใจต่ำ, ยุ่ง)

  12. ส่วนที่ 2 เนื้อหา/ทฤษฎี/การประยุกต์

  13. ลักษณะคุณธรรม • ศาสนธรรม • จริยธรรม จรรยา • นิติธรรม (กฎหมาย กฎ ระเบียบต่างๆ) • หลักธรรมาภิบาล • วัฒนธรรม ค่านิยม • คุณธรรม / คำสอนประจำตระกูล

  14. องค์ประกอบของจริยธรรมองค์ประกอบของจริยธรรม • เป็นความประพฤติ • สะท้อนความนึกคิดและจิตสำนึก • เกิดการกระทำดี ไม่มุ่งให้เกิดผลร้าย • สร้างผลดีแก่ตนเองและผู้อื่น

  15. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริการกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒ • หลักคุณธรรม • หลักความโปร่งใส • หลักการมีส่วนร่วม • หลักความรับผิดชอบ • หลักความคุ้มค่า • หลักนิติธรรม

  16. การพัฒนา 2 อย่าง • พัฒนาวัตถุ คือ ปัจจัย ๔ อยู่ดี กินดี • พัฒนาจิตใจ คือ คุณภาพ อยู่เย็น เป็นสุข

  17. บัว 4 เหล่า • พวกที่มีสติปัญญาฉลาดเฉลียว (อุคฆฏิตัญญู) • พวกที่มีสติปัญญาปานกลาง (วิปจิตัญญู) • พวกที่มีสติปัญญาน้อย (เนยยะ) • พวกที่ไร้สติปัญญา (ปทปรมะ)

  18. โลกธรรม (โลกกระทำ) 8 ธรรมดาของโลก, เรื่องของโลก 1. มีลาภ 2. เสื่อมลาภ 3. มียศ 4. เสื่อมยศ 5. มีสุข 6. มีทุกข์ 7. มีสรรเสริญ 8. มีนินทา

  19. สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ, คนดี, ธรรมของมนุษย์ผู้มี ความเป็นมนุษย์สมบูรณ์ 1. รู้เหตุ 2. รู้ผล 3. รู้ตน 4. รู้ประมาณ 5. รู้กาล 6. รู้บุคคล 7. รู้ชุมชน (บริษัท)

  20. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  21. การประยุกต์

  22. 8 กระบวน คุณธรรมพื้นฐานสำหรับมนุษย์

  23. ๑.ขยัน ขยัน คือความตั้งใจเพียรพยายามทำหน้าที่การงาน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ อดทน ความขยันต้องปฏิบัติ ควบคู่กับการใช้สติ ปัญญา แก้ปัญหาจนเกิดผลสำเร็จ

  24. ๒.ประหยัด ประหยัด คือการรู้จักเก็บออมถนอมใช้ทรัพย์สิน สิ่งของแต่พอควร พอประมาณ ให้เกิดประโยชน์ คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย

  25. ๓.ซื่อสัตย์ ซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจากความรู้สึกลำเอียง หรืออคติ 1. ลำเอียงเพราะชอบ 2. ลำเอียงเพราะชัง 3. ลำเอียงเพราะหลง 4. ลำเอียงเพราะกลัว

  26. ๔. มีวินัย มีวินัย คือการยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ และข้อปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยในตนเอง และวินัยต่อสังคม

  27. ๕. สุภาพ สุภาพ คือ เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม กิริยามารยาทที่ดีงาม มีสัมมาคารวะ ( ย ว ท) ยิ้ม ไหว้ ทักทาย

  28. ๖. สะอาด สะอาด คือปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจ และ สภาพแวดล้อม ความผ่องใสเป็นที่เจริญตาทำให้ เกิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น

  29. ๗.สามัคคี สามัคคี คือ ความพร้อมเพียงกันความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกันปฏิบัติงาน ไม่ทะเลาะวิวาท

  30. ๘. มีน้ำใจ มีน้ำใจ คือความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเอง หรือ เรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจเห็นคุณค่าในเพื่อน มนุษย์ มีความเอื้อเฟื้อเอื้ออาทร เกื้อกูลกันและกัน

  31. ส่วนที่ 3 สรุป/วิเคราะห์

  32. ความรู้คู่คุณธรรม/คุณธรรมนำความรู้ความรู้คู่คุณธรรม/คุณธรรมนำความรู้ คุณธรรม = สิ่งที่ควรมี จริยธรรม = สิ่งที่ควรประพฤติ อริสโตเติ้ลนักปราชญ์ชาวกรีกกล่าวว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม”

  33. คุณเป็นมนุษย์ประเภทไหนคุณเป็นมนุษย์ประเภทไหน “อันสตรี ไม่มีศีล ก็สิ้นสวย บุรุษด้วย ไม่มีศีล ก็สิ้นศรี อันนักบวช ไม่มีศีล ก็สิ้นดี ข้าราชการ ศีลไม่มี ก็เลวทราม”

  34. ถามตัวเอง/ตอบตัวเอง • เราเป็นมนุษย์ประเภทไหน • เราเป็นมนุษย์ที่พัฒนาแล้วหรือยัง • เราต้องการเห็นสังคมมนุษย์แบบไหน • เราเป็นจะช่วยพัฒนาสังคมมนุษย์อย่างไร

  35. จบบริบูรณ์

More Related