1 / 29

โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน. โรคเบาหวาน คำจำกัดความ : กลุ่มโรคทางเมตะบอลิสมที่มี ระดับน้ำตาลในเลือดสูง อันเป็นผลมาจากความบก พร่องของการหลั่งอินสุลิน หรือการออกฤทธิ์ของอิน สุลิน หรือทั้งสองอย่าง. FBS หรือ FPG(fasting plasma glucose ...๘ ช.ม. ) >= ๑๒๖ มก%

Download Presentation

โรคเบาหวาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคเบาหวาน

  2. โรคเบาหวาน คำจำกัดความ: กลุ่มโรคทางเมตะบอลิสมที่มี ระดับน้ำตาลในเลือดสูง อันเป็นผลมาจากความบก พร่องของการหลั่งอินสุลิน หรือการออกฤทธิ์ของอิน สุลิน หรือทั้งสองอย่าง. FBSหรือFPG(fasting plasma glucose...๘ ช.ม.) >= ๑๒๖ มก% หรือ casual(random) plasma glucose >= ๒๐๐ มก% Oral glucose tolerance test(OGGT)(๗๕กรัม...๒ชม.) >= ๒๐๐ มก%

  3. น้ำตาล(กลูโคส)ในเลือดกับเบาหวานน้ำตาล(กลูโคส)ในเลือดกับเบาหวาน ๗๐ - ๑๐๙ ปรกติ ๑๑๐ - ๑๒๕ มก% เริ่มต้น ๑๒๖ ขึ้นไปเป็นเบาหวาน หลังการตรวจ ๒ ครั้ง หรือ ๒๐๐ ร่วมกับอาการของเบาหวาน(ตรวจครั้งเดียว) พบคนไทยเป็นเบาหวาน ๔ % (๒,๕๐๐,๐๐๐ คน)

  4. ต่อไร้ท่อ ตับอ่อน อินซูลิน

  5. สงสัยว่าจะเป็นเบาหวานมีอาการอย่างไร ? อาการของโรคเบาหวาน เช่น ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำบ่อย น้ำหนักลด อ่อนเพลีย รับประ ทานอาหารเก่ง ตามัว แผลหายช้า หรือมีประวัติ ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะและผิวหนังบ่อย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งจากเชื้อรา. หมายเหตุ: เพราะอะไร ?

  6. การคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวาน ๑. อายุ ๔๕ ปีขึ้นไป(ให้ตรวจทุก ๓ ปี ถ้าปรกติ) ๒. บิดามารดาหรือพี่น้องเป็นโรคเบาหวาน ๓. ผู้ที่มีอาการเบาหวาน ๔. มีความดันโลหิตสูงเกิน ๑๔๐/๙๐ มม.ปรอท ๔. น้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ๕. แท้งบุตรหลายครั้ง ๖. คลอดบุตรมีน้ำหนักเกิน ๔ กก.

  7. ๗. ประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์อ้วน ๘. ประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน ๙. ไขมันในเลือดสูง หรือ HDL =< ๓๕ ๑๐. มีประวัติ IGT(impaired glucose tolerance) หรือ IFT (impaired fasting glucose) ๑๑. ทานยาขับปัสสาวะ(กลุ่มthiazide)หรือสเตีย รอยด์

  8. ประเภทโรคของเบาหวาน ๓ ชนิด เบาหวานชนิดที่ ๑เป็นเบาหวานที่ต้องพึ่งอินซูลิน (เกิดจากการขาดอินสุลิน) โดยมีพยาธิสภาพที่ Islets of Langerhans ซึ่งมีลักษณะดังนี้ ๑. ส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า ๒๐ ปี ๒. อาการเกิดขึ้นทันทีทันใด ๓. มีรูปร่างผอม ๔. ถ้าขาดการรักษาด้วยอินสุลิน ส่วนใหญ่จะเกิด โรคแทรกซ้อนชนิดเฉียบพลัน คือ ภาวะเป็นกรด(diabetic ketoacidosis). (ลดหรือหมดไป)

  9. เบาหวานชนิดที่ ๒ เป็นเบาหวานที่ไม่ต้องพึ่งอินซูลิน(เกิดจาก การขาดอินสุลิน)แต่ไม่มากเท่าที่๑ ร่วมกับมีภาวะ ต้านอินสุลิน*(insulin resistance) ซึ่งมีลักษณะดังนี้ ๑. ส่วนใหญ่อายุมากกว่า ๓๐ ปี ๒. อาการเกิดขึ้นค่อยเป็นค่อยไป ๓. มีรูปร่างผอม

  10. เบาหวานกับจีโนมสแกน ยีนระบบภูมิคุ้มกันทำงานผิดเข้าใจว่า เบต้าเซ็ลใน ตับอ่อนเป็นสิ่งแปลกปลอม เลยเกิดการทำลายขึ้น

  11. เบาหวานชนิดที่ ๓ เป็นเบาหวานที่เกิดจากโรคของตับอ่อน เช่น ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง(สุรา นิ่ว ติดเขื้อ)* ต่อมไร้ ท่ออื่น ๆ เช่นCushing’s syndrome, acromegaly, primary aldosteronism, โรคที่พบร่วมกับโรคทาง กรรมพันธุ์ หรือความผิดปรกติของอินสุลิน.

  12. การรักษาเบาหวาน ๑. อาหาร คาร์โบไฮเดรต น้ำตาล ข้าว ขนมปัง ถั่ว ผัก โปรตีน จากปลา ไก่ หมู วัว พืช ไขมัน เป็นน้อยทานปรกติ อายุมากต้องปรับแก้ ผักและผลไม้ – หวาน - ย่อยง่าย(น้ำผลไม้ที หวาน ปั่นแล้วย่อยง่าย) ย่อยช้า ๆ กาก เฉลี่ยอาหารเป็นหลายมื้อ งดเหล้า/บุหรี่

  13. ครึ่ง:ครึ่ง อาหารที่คนเป็นเบาหวานกินได้ คนทั่วไปกินดี ธงโภชนบัญญัติ (ข้าวแบบไหน?) (ไร้/ปลอด/สาร?) (หวาน?) (พร่องมันเนย?) (ถั่ว?)

  14. อาหารที่ผป.ควรบริโภคเล็กน้อยและนานๆ ครั้ง ๑. อาหารทีมีน้ำมันมาก เช่น ปาท่องโก๋ ไก่ทอด น้ำมันเก่า การเผาไหม้น้ำมัน แป้ง โปรตีน อนุมูลอิสระกับหลอดเลือด และมะเร็ง ๒. อาหารที่ใส่กะทิ เช่น แกงที่ใส่กะทิ....ขนม.......... การทานแต่เนื้อ การทำแกงกะทิใส การใช้น้ำถั่ว เหลืองแทนกะทิ

  15. ๓. เนื้อสัตว์ที่มีไขมันอิ่มตัวมาก เช่น เนื้อหมูส่วนไหน ? เนื้อวัวส่วนไหน ? เครื่องในทั้งหลาย ? ไก่ ? ข้าวมันไก่ ? หนังไก่ ? เครื่องในไก่ ? ๔. ขนมอบที่มีไขมันมาก เช่น คุ้กกี้ พาย เค้ก ขนมฟรั่งทั้งหลายแหล่ ๕. ไข่แดง ควรทานเท่าใดต่อวัน? ไข่เจียว ตุ๋น? ไข่ปลาสีขาวมีโคเลสเตอรรอลมาก ? ไข่สัตว์ทั้งหลาย......?

  16. ๖. อาหารที่มีรสเค็มจัดและหมักดอง เกลือโซเดียมคลอไรด์ผงชูรสมีอะไร ? ๗. ขนมหวาน เช่น ทองหยิบ ทองหยอด หม้อแกง มีอะไรมาก ไขมัน ? น้ำตาล ? ๘. ผลไม้ตากแห้ง เช่น กล้วยตาก ลูกเกด ลูกพลับ มีอะไรมาก ไขมัน ? น้ำตาล ? ๙. ผลไม้กระป๋องในน้ำเชื่อม เช่น เงาะ ลำไย มีอะไรมาก? ควรทานเนื้อหรือน้ำ? มาก/น้อย ?

  17. ๑๐. ผลไม้หวาน เช่น ทุรียน ลำไย ขนุน ละมุด น้อยหน่า มังคุด มะม่วง ฟรั่ง มีอะไรมาก ? ควรทานตอน ดิบ ห่าม สุก ? ควรทายแบบน้ำผลไม้ บดละเอียด ปาน กลาง หยาบ เป็นชิ้น ? ๑๑. เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอร์ มี อะไรมากคาร์โบไฮเดรต....โปรตีน....ไขมัน ? ย่อยง่ายหรือยาก ? น้ำตาลจะสูงหรือไม่ ? ตับและตับอ่อนอักเสบได้หรือไม่ ?

  18. อาหารที่ควรเว้น อาหารที่มีน้ำตาลโดยตรง เช่น น้ำตาลซูโครสคืออะไร น้ำตาลฟรุ๊กโตส....? ๑. น้ำหวาน เช่น น้ำหวานเข้มข้น น้ำผลไม้ผสม น้ำตาล น้ำอัดลม เครื่องดื่มผสมน้ำตาล ๒. อาหารที่มีน้ำตาลมาก เช่น แยม เยลลี่ ลูกกวาด ช็อกโกแลต ผลไม้กวน ผลไม้แช่อิ่ม ผลไม้เชื่อม นมข้นหวาน

  19. เลือกรับประทานอาหาร (เพื่อความครอบคลุม) ๑. แป้ง ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ลดลง ๑/๓ของที่เคย ๒. ลอกหนังและกำจัดไขมันออกก่อนทาน ใส่ตู้เย็น.....แล้วตักไขมันออก ๓. ทานผลไม้หวานได้เล็กน้อย ควรทานที่ยังสุก ๔. ปรุงอาหารด้วยการนึ่ง ต้ม และย่าง เช่น ปลาทูย่างในเตาอบ ปลานึ่ง ปลาต้ม+ คุณค่า ๕. ไข่เจียว ไข่ตุ๋น ไข่ต้ม ใส่ไข่แดงน้อย + คุณค่า ๖. ถั่วต้ม + คุณค่า

  20. ควรรับประทานวันละกี่มื้อควรรับประทานวันละกี่มื้อ ๑. วันละ ๓ มื้อหลัก รับประทานเมื่อถึงเวลา ไม่ใช่ เมื่อหิว. เพราะอะไรจึงต้องตรงเวลา ? (ทดลองในหนู) บางครั้งหิวจนหน้ามืดจะทำอย่างไร ? ให้ทานเต็มที่ หรือเล็กน้อย ?

  21. ควรรับประทานวันละกี่มื้อควรรับประทานวันละกี่มื้อ ๒. ผู้ที่ฉีดอินซูลิน หรือน้ำตาลในเลือดต่ำบ่อย อาจ ทานวันละ ๔ – ๖ มื้อ โดยทานอาหารเบา ๆ แทรกระหว่างมื้อ เช่น นมจืด น้ำเต้าหู้ ผลไม้

  22. การเผา.....? น้ำหนัก อาหาร น้ำตาลในเลือด อินซูลิน ตาย ต่อมทำงานหนัก น้ำหนัก/อาหาร/อินซูลิน (ลำไส้เล็ก)

  23. ๒. การออกกำลังกาย การทำกิจวัตรต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การทำงานแบบนั่งเก้าอี้ น้ำตาลไม่ถูกใช้ ? ไขมันไม่ถูกใช้ ? การใช้อาหารให้เป็นประโยชน์ลดลง ? เตรียมอาหาร เสียเงิน แต่ไม่ได้เประโยชน์ ? การออกกำลังกาย ควรเฉลี่ยทั้งวัน ?

  24. คุม/ลดน้ำหนัก อาหารคุมที่ไหน? ปริมาณ แป้งน้ำตาล โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ ไวตามิน น้ำ กล้ามเนื้อ ออกกำลัง การเผาผลาญ กระดูก

  25. การออกกำลังเพื่อการไหลเวียนการออกกำลังเพื่อการไหลเวียน

  26. ๓. การรักษาด้วยยา ถ้า FPG < ๒๕๐ มก% ควบคุมอาหาร + ออกกำลัง (๑ - ๒ เดือน) ถ้ายังควบคุมไม่ได้ ๑. ให้ใช้ยาลดน้ำตาลในเลือด ๒. ใช้อินซูลิน เมื่อ > ๓๕๐ มก% หรือชัก ภาวะขาดน้ำ โรคแรกซ้อน (อาจใช้ร่วมกับยาทาน)

  27. โรคแทรกซ้อนเกิดจากหลอดเลือดแข็ง ตีบ ตัน ๑. ตามัว บอด ควรไปตรวจทุก ๖ เดือนหรือฝึก ตรวจตาเป็นประจำด้วยตนเอง ต้อกระจกเร็ว ๒. ใตเสื่อม หลอดเลือดไปใตตีบ ตัน อาจต้องผ่าต่อเส้นเลือด ๓. ตีน เย็นเพราะหลอดเลือดตีบ ตัน แผล ติดเชื้อ แกงกรีน ตัดขา ๔. ความดันโลหิตสูง ๕. หัวใจ และ ๖. สมอง หลอดเลือด ตีบ ตัน. ๗. ทุกอวัยวะ + ผิวพรรณ หม่นหมอง ติดเชื้อง่าย ๘. ไขมันในเลือด

  28. สมุนไพร ๑. ต้น..... ต้องพิสูจน์ ๒. บอระเพ็ด ใช้นานอาจเกิดตับอักเสบ ๓. สเตรอยด์ ทำมให้นำตาลเพิ่ม

  29. เครื่องมือในการตรวจเบาหวานเครื่องมือในการตรวจเบาหวาน ๑. ตรวจปัสสาวะ วัดเป็น ๑+ - ๔+ ๒. ตรวจเลือด วัดเป็น มก%

More Related