1 / 32

การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม ( Liquid Penetrant Testing) PT, LPT,LPI

การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม ( Liquid Penetrant Testing) PT, LPT,LPI. การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม ( PT) (Liquid Penetrant Testing) ใช้ตรวจสอบรอยบกพร่องหรือความไม่ต่อเนื่อง ในชิ้นงานที่เปิดถึงผิว ใช้ได้กับวัสดุทุกชนิด แก้ว พลาสติก เซรามิค โลหะ อโลหะ ยกเว้นชนิดที่สามารถดูซึมสารตรวจสอบ

Gabriel
Download Presentation

การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม ( Liquid Penetrant Testing) PT, LPT,LPI

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึมการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing) PT, LPT,LPI

  2. การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (PT) (Liquid Penetrant Testing) ใช้ตรวจสอบรอยบกพร่องหรือความไม่ต่อเนื่อง ในชิ้นงานที่เปิดถึงผิว ใช้ได้กับวัสดุทุกชนิด แก้ว พลาสติก เซรามิค โลหะ อโลหะยกเว้นชนิดที่สามารถดูซึมสารตรวจสอบ สามารถตรวจสอบหารอยแยกที่มีความกว้างเพียง 0.127 ไมครอน (C.E. BETZ 1990) (0.075 ไมครอน)

  3. Penetrant Red Developer Black light Penetrant Fluorescent Cleaner

  4. ขั้นตอนของการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (PT) 1. ทำความสะอาดชิ้นงานก่อนการทดสอบ 2. การทาเคลือบผิวชิ้นงานด้วยสาร PENETRANT

  5. ขั้นตอนของการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (PT) (ต่อ) 3. ทำความสะอาด PENETRANT ส่วนเกิน 4. การทาเคลือบผิวชิ้นงานด้วย DEVELOPER

  6. ขั้นตอนของการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (PT) (ต่อ) 5. การตรวจหารอยบกพร่อง 6. การทำความสะอาดหลังการทดสอบ

  7. Step 1 Cleaner

  8. Penetrant Step 2 Penetrant

  9. Step 3 Cleaner

  10. วิธี Solvent Removable

  11. Penetrant ส่วนเกิน วิธี Solvent Removable Penetrant ที่อยู่ใน รอยความไม่ต่อเนื่อง

  12. Step 4 Developer

  13. INDICATION Step 5

  14. รอยความไม่ต่อเนื่อง บุคลากร 1,2,3

  15. ชนิดของสารแทรกซึม แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ตามชนิดของการมองเห็นคือ 1.ชนิดเรืองแสง (Fluorescent dye) 2.ชนิดมองเห็นด้วยตาเปล่า (Visible dye or color contrast dye) 3.ผสมกันระหว่างชนิดเรืองแสงและชนิดมองเห็นด้วยตาเปล่า (Dual mode penetrant)

  16. น้ำยาแทรกซึมแบ่งตามชนิดของการล้างออกได้ 3 ชนิด • ชนิดล้างออกด้วยน้ำ (Water washable) • ชนิดล้างออกด้วยอิมัลซิฟายเออร์ (Post emulsifier) • ชนิดล้างออกด้วยตัวทำละลาย (Solvent removable

  17. ชนิดของ Developer • แบบแห้ง (Dry developer) • แบบเปียก (Wet developer)

  18. ระยะเวลา Dwell time ที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับ • ชนิดของวัสดุ (type of malarial) • กระบวนการผลิต (form) • ชนิดของความไม่ต่อเนื่อง (type of discontinuity)

  19. แสดงระยะเวลาในการแทรกซึมต่ำสุดตามมาตรฐาน ASME

  20. ระยะเวลา Developer time ที่เหมาะสม Developer time คือประมาณครึ่งหนึ่งของระยะเวลา Dwell time แต่ไม่ต่ำกว่า 10 นาที และไม่เกิน 60 นาที

  21. ขั้นตอนการใช้วิธีล้างออกด้วยน้ำขั้นตอนการใช้วิธีล้างออกด้วยน้ำ ทำความสะอาด เคลือบสารแทรกซึม รอเวลา Dwell ล้างด้วยน้ำ ทำให้แห้ง ใช้ developer แบบเปียกที่เป็น water based ทำให้แห้ง ใช้ developer แบบแห้ง ทำให้แห้ง ใช้ nonaqueous developer รอ Developer time ตรวจสอบ ทำความสะอาด หลังการตรวจสอบ

  22. ทำความสะอาด เคลือบสารแทรกซึม รอเวลา Dwell เคลือบอิมัลซิฟายเออร์ แบบ Lipohilic ล้างด้วยน้ำ ทำให้แห้ง เคลือบ developer แบบ aqueous ทำให้แห้ง รอเวลา Dwell เคลือบ developer แบบแห้ง ทำให้แห้ง เคลือบ developer แบบ nonaqueous รอเวลา Dwell ตรวจสอบ ทำความสะอาด หลังการตรวจสอบ ขั้นตอนสารแทรกซึมที่ต้องเคลือบด้วยอิมัลซิฟายเออร์ แบบ Lipohilic

  23. ทำความสะอาด เคลือบสารแทรกซึม รอเวลา Dwell ล้างด้วยน้ำ เคลือบอิมัลซิฟายเออร์ แบบ Hydrophilic รอเวลา Dwell ล้างด้วยน้ำ ทำให้แห้ง เคลือบ developer แบบ aqueous ทำให้แห้ง เคลือบ developer แบบแห้ง ทำให้แห้ง เคลือบ developer แบบ nonaqueous รอเวลา Dwell ตรวจสอบ ทำความสะอาด หลังการตรวจสอบ ขั้นตอนสารแทรกซึมที่ต้องเคลือบด้วยอิมัลซิฟายเออร์ แบบ Hydrophilic

  24. ทำความสะอาด เคลือบสารแทรกซึม รอเวลา Dwell เช็ดเบื้องต้นด้วยผ้าที่แห้ง เช็ดด้วยผ้าที่ทำให้เปียกชื้นด้วยตัวทำละลายพอหมาดๆ เช็ดด้วยผ้าแห้ง เคลือบด้วย developer แบบ nonaqueous รอเวลา Dwell ตรวจสอบ ทำความสะอาด หลังการตรวจสอบ สารแทรกซึมชนิดกำจัดออกด้วยตัวทำละลาย

  25. ถังPenetrant ถังEmulsifier ถังน้ำพร้อมหัวNozzle ถังDeveloper ตู้อบ

  26. Runchek testing element (cracked testing element)

  27. การใช้อลูมิเนียม Quench crack ดังภาพ

  28. Luminium element (ASME test bloc)

  29. Hollowed plate reference testblock 2 following EN ISO 3452-3

  30. การตรวจสอบจะใช้ test panel ดังภาพ

  31. ข้อได้เปรียบของการตรวจสอบข้อได้เปรียบของการตรวจสอบ 1. สามารถตรวจสอบได้กับวัสดุเกือบทุกชนิดที่ไม่มีรูพรุน 2. รูปร่างของชิ้นงานไม่เป็นข้อจำกัดในการตรวจสอบ 3. มีขั้นตอนการตรวจสอบที่เข้าใจได้ง่าย และง่ายต่อการปฏิบัติ 4. ใช้อุปกรณ์น้อยและมีราคาไม่แพง

  32. ข้อจำกัด 1. รอยตำหนิที่ตรวจพบจะต้องเปิดสู่ผิวเท่านั้น 2. ต้องทำความสะอาดผิวชิ้นงานที่จะตรวจสอบมากกว่าการตรวจสอบโดยไม่ทำลายวิธีอื่น 3. ต้องรอระยะเวลา Dwell time และ Developer time 4. บริเวณที่ตรวจสอบจะมีกลิ่นหรือการฟุ้งกระจายของสารแทรกซึม

More Related