1 / 31

บทความปริทัศน์ (R EVIEWS )

ค้นสารสนเทศที่ ทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระดับทุตยภูมิ (SECONDARY DATA SEARCHING ) ช่วยค้น บทความปริทัศน์. บทความปริทัศน์ (R EVIEWS ). บทความปริทัศน์เป็นการรวบรวมความรู้จากการทดลองหรืองานวิจัย มาประเมิน วิจารณ์ และ สรุปเนื้อหาเขียนเป็น REVIEWS ส่วนใหญ่มักมีความยาวไม่เกิน 10 หน้า.

abdul-nash
Download Presentation

บทความปริทัศน์ (R EVIEWS )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ค้นสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระดับทุตยภูมิ(SECONDARY DATA SEARCHING ) ช่วยค้น บทความปริทัศน์

  2. บทความปริทัศน์ (REVIEWS) • บทความปริทัศน์เป็นการรวบรวมความรู้จากการทดลองหรืองานวิจัย มาประเมิน วิจารณ์ และ สรุปเนื้อหาเขียนเป็น REVIEWS • ส่วนใหญ่มักมีความยาวไม่เกิน 10 หน้า

  3. สารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง • 1.บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิงท้ายบทความ หรือ REFERENCE คือรายการดรรชนี ไม่มีบทคัดย่อให้อ่าน2.วารสารดรรชนี (INDEXED JOURNAL) คือรายการดรรชนีทำเป็นวารสาร มีบทคัดย่อให้อ่านมีทั้ง-วารสารดรรชนีฉบับจริง-วารสารดรรชนีออนไลน์ตัวอย่างได้แก่-IPA-PUBMED-SCIENCE DIRECT

  4. SECONDARY DATA SOURCES SECONDARY DATA SOURCES อาจเรียก ว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศ หรือ COMPUTERIZED INFORMATION RETRIEVALSYSTEM • ข้อดีของ ONLINE SEARCHING คือ • 1.ความรวดเร็ว เร็วกว่าการค้นหาด้วยมือ • 2.สามารถพิมพ์เอกสารอ้างอิงออกมาได้ทั้งหมด • 3.KEYWORDS อยู่ใน ABSTRACT หรือบทความก็ได้ • 4.มักจะได้บทความสำคัญอื่นที่เกี่ยวข้อง แถมมา

  5. ONLINE ค้นบทความปริทัศน์ผ่าน SECONDARY DATA SEARCHING • 3.1.ONLINE SEARCHINGค้นบทความปริทัศน์ จากวารสารดรรชนีออนไลน์ (INDEX ONLINE) และ วารสารออนไลน์ (JOURNAL ONLINE) • 3.2.HAND SEARCHINGค้นบทความปริทัศน์จากวารสารฉบับจริงตามห้องสมุด

  6. ตัวอย่างวารสารดรรชนีออนไลน์ตัวอย่างวารสารดรรชนีออนไลน์

  7. IPA • http://scientific.thomson.com/products/ipa/ • เป็นวารสารราย 2 สัปดาห์ • ครอบคลุมวารสารทางเภสัชศาสตร์มากกว่าดรรชนีอื่นครอบคลุมวารสาร >600 ฉบับ • LAG TIME(ระยะล้าหลัง)ของONLINE : 2-3 เดือน

  8. IPA • OUT PUT : บทคัดย่อของ บทความปริทัศน์ REVIEWS และ นิพนธ์ต้นฉบับ PRIMARYARTICLES (ORIGINAL ARTICLES) บทคัดย่อ

  9. PUBMED และ PUBMED CENTRAL • ที่อยู่ http://www.pubmed.gov/ • OUTPUT ของ PUBMED: บทคัดย่อของ REVIEWS และPRIMARY ARTICLES • เป็นวารสารดรรชนี ONLINE เท่านั้น • ครอบคลุม วารสารด้านชีวการแพทย์ และสาขาอื่น 340 JOURNAL เช่น LIFE SCIENCE, CHEMISTRY, เป็นต้น กว่า 1 ล้าน ARTICLES ต่อปี • LAG TIME ของ ONLINE คือ 1-3 เดือน

  10. PUBMED บทคัดย่อ

  11. PMC (PUBMED CENTRAL) สามารถเลือก Full Text ได้เลย

  12. SCIENCE DIRECT ฐานข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ สังคมศาสตร์ และฟิสิกส์ SCIENCE DIRECT มี OUTPUT คือ บทคัดย่อของREVIEWS และ PRIMARY ARTICLES และ BOOKS

  13. การค้นบทความปริทัศน์ จากวารสารออนไลน์(JOURNAL ONLINE) • LANCET (www.thelancet.com) • NEJM (www.nejm.org) • BRITISH MEDICAL JOURNAL (www.bmj.com) • วารสารวิชาการสาธารณสุข http://pubnet.moph.go.th/techjrn/ttechjrn.html

  14. Thai journal online

  15. วารสารหมอชาวบ้าน วารสารคลินิก

  16. วารสารจดหมายเหตุทางการแพทย์วารสารจดหมายเหตุทางการแพทย์

  17. การหา REVIEW ฉบับจริง • การค้นจาก ONLINE SEARCHING จะได้ ดรรชนีบทคัดย่อ (ABSTRACTS) • หาREVIEW ฉบับจริงใน JOURNAL LINK WEBSITE แล้วเดินทางไปถ่ายเอกสาร REVIEWS ที่ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยนั้น อีกที

  18. การค้นบทความปริทัศน์จากONLINE SEARCHING JOURNAL ONLINE INDEX ONLINE IPA PUBMED SCIENCE DIRECT ABSTRACT ABSTRACT JOURNAL LINK WEBSITE เพื่อให้ได้ FULLTEXT ของ REVIEWS 2.ONLINE FULLTEXT ของ REVIEWS 1. FULLTEXT ของ REVIEWSAT LOCAL LIBRARY

  19. HAND-SEARCHING-การค้นบทความปริทัศน์HAND-SEARCHING-การค้นบทความปริทัศน์ ตู้บัตรดรรชนี หรือหน้าจอคอม ในห้องสมุดใช้ค้นบทความ ข่าว และ งานวิจัยในวารสาร หรือ หนังสือพิมพ์ ในปัจจุบันห้องสมุดบางแห่งอาจทำไว้ ใช้ค้นบทความเฉพาะในห้องสมุดนั้นเท่านั้น ตู้บัตรดรรชนีแบ่งเป็น บัตรดรรชนีวารสาร บัตรดรรชนีชื่อเรื่อง บัตรดรรชนีหัวเรื่อง

  20. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล A HAND-SEARCHING-การค้นบทความปริทัศน์จากท้ายเล่มวารสารฉบับจริง ดรรชนีท้ายเล่มจะเรียงตามตัวอักษร วารสารอาจมีดรรชนีเป็นเล่มพิเศษต่างหาก จะเรียงตามตัวอักษรเช่นกัน

  21. HAND-SEARCHING-วารสารต่างประเทศฉบับจริงHAND-SEARCHING-วารสารต่างประเทศฉบับจริง • วารสารการแพทย์ • วารสารทางวิทยาศาสตร์ • วารสารสังคมศาสตร์

  22. การประเมินหนังสือและ REVIEWS • 1.เนื้อหา-กว้างหรือแคบ ความละเอียดและชัดเจนของเนื้อเรื่อง มีแหล่งอ้างอิงทันสมัย • 2.ชื่อเสียงของผู้แต่ง-ผู้แต่งตำราที่มีความชำนาญในสาขานั้น จะมีความละเอียดรอบคอบในการรวบรวมเอกสาร • 3.เวลาที่ตีพิมพ์-พิจารณาปี และ EDITION ล่าสุดระยะเวลาในการเขียนและจัดพิมพ์หนังสือ มี LAGTIME (ระยะล้าหลัง) 2-3 ปี ส่วน REVIEWS มี LAGTIME 1-2 ปี

  23. การสืบค้นสารสนเทศที่เป็นงานวิจัย ระดับปฐมภูมิ(PRIMARY DATA SEARCHING)

  24. 4.1.บทความปฐมนิพนธ์ (ORIGINAL PAPER) • บทความปฐมนิพนธ์เหล่านี้จะอยู่ในวารสาร • ควรมีการประเมิน ORIGINAL PAPER ก่อนนำข้อมูลไปใช้

  25. 4.2.กรณีศึกษา (REPORTS) • เล่าถึงประสบการณ์ของบุคลากรทางการแพทย์ที่พบในคนไข้คนที่ตนดูแลอยู่ หรือในบางครั้ง อาจเป็นการนำผลการวิจัยเบื้องต้นบางส่วนมา กล่าว • ควรประเมิน CASE REPORTS ก่อนนำข้อมูลไปใช้

  26. การค้นบทความปฐมนิพนธ์ และ กรณีศึกษา • ใช้วิธี ONLINE SEARCHING และ HAND SEARCHING เช่นเดียวกับการค้น บทความปริทัศน์ • การค้นหาเอกสารรายงานระดับงานวิจัยฉบับจริง สามารถค้นหาตัวเล่มฉบับจริงของวารสาร โดยดูจากJOURNAL LINK WEBSITEแล้วเดินทางไปถ่ายเอกสารที่ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยนั้น

  27. 4.3.วิทยานิพนธ์ (THESIS )ค้นที่ WWW.RICLIB.NRCTGO.TH • เป็นงานวิจัยที่ทำโดยนักศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิต 1 2 3

  28. 4.3.รายงานการวิจัย (RESEARCH PAPER)ค้นที่ WWW.ELIBRARY.TRF.OR.TH

  29. 4.3.รายงานการวิจัย (RESEARCH PAPER)ค้นที่ WWW.RICLIB.NRCTGO.TH 1 2 3

  30. 4.4.การค้น PATENT • http://www.google.com/patents • เป็นงานวิจัย ไม่เคยทำมาก่อน คุ้มครองสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น • OUTPUT : บทคัดย่อ ของ PATENTS และ CLAIMS มี FULL-TEXT LINKS • หรือค้นที่ กองสิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้า กท.พาณิชย์ หรือ ศูนย์สนเทศสิทธิบัตร กท.วิทยาศาสตร์

  31. การค้นหาคำตอบอย่างมีระบบการค้นหาคำตอบอย่างมีระบบ • 5.DRUG COMPANY DATA SEARCHING ระวังมีแต่ข้อมูลด้านดี • 6.SEARCH ENGINE SEARCHING เช่น GOOGLE • 7.EXPERT COUNSELLING

More Related