690 likes | 2.44k Views
บทที่ 8. โครงสร้างของเงินทุน จุดคุ้มทุน Financial and Operating Leverage. ธุรกิจจะประสบผลสำเร็จของธุรกิจมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ คือ ราคาขาย ต้นทุนการผลิตและต้นทุนการดำเนินงาน ปริมาณขาย. ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของต้นทุน ปริมาณ และผลกำไร
E N D
บทที่ 8 โครงสร้างของเงินทุน จุดคุ้มทุนFinancial and Operating Leverage
ธุรกิจจะประสบผลสำเร็จของธุรกิจมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ คือ • ราคาขาย • ต้นทุนการผลิตและต้นทุนการดำเนินงาน • ปริมาณขาย • ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของต้นทุน ปริมาณ และผลกำไร • ต้นทุนจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ • ต้นทุนคงที่ เช่น ค่าเสื่อมราคา ค่าเช่า เงินเดือนฝ่ายบริหาร • ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่านายหน้า ค่าแรงงาน
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน(Operating Costs) • ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) • ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิตและขาย • ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) • เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิตและขาย ต้นทุนรวม ต้นทุนผันแปรรวม ต้นทุนคงที่
ซึ่งปัจจัยและต้นทุนต่างๆ ที่กล่าวมานั้นมีผลกระทบต่อกำไรของธุรกิจอย่างไร เป็นสิ่งที่จะต้องนำการวางแผนกำไรเข้ามาใช้ในการวิเคราะห์ มีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ • การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (BE. Point) • การวิเคราะห์การยกระดับกำไร (Leverage) • การวิเคราะห์ระดับกำไรจากการใช้ต้นทุนคงที่(Operating Leverage) • การวิเคราะห์ระดับกำไรจากการมีเจ้าหนี้ (Financial Leverage)
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน Break - Even Analysis
Break - Even Analysis • จุดคุ้มทุน (Break – Even Point)คือ • ปริมาณยอดขาย (Q)ที่ทำให้กำไรจากการดำเนินงาน (EBIT)เท่ากับ 0 หรือ รายได้ เท่ากับ ต้นทุนรวมพอดี สูตร Q = TFC P - VC
Break - Even Analysis TFC = ต้นทุนคงที่รวม Q = ปริมาณผลิต(ขาย) P = ราคาขาย/หน่วย VC = ต้นทุนผันแปร/หน่วย กำหนดให้ :
Break - Even Analysis รายได้ = ต้นทุนรวม P * Q = TFC + TVC P * Q = TFC + (Q * VC/น.) PQ – VQ = TFC ดังนั้นQ ( P-VC) = TFC Q = TFC P – VC/น.
Break - Even Analysis • สมมติฐานในการวิเคราะห์ : • ราคาขาย / หน่วยคงที่ • ต้นทุนผันแปร / หน่วยคงที่ • ต้นทุนคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง • ต้นทุนรวมประกอบด้วย ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร • ใช้กับการวางแผนผลิตและขายสินค้าชนิดเดียวกันหรือยอดขายเป็นชุด • ใช้สำหรับการตัดสินใจในระยะสั้นเท่านั้น (กำไรจากการดำเนินงาน = 0) ซึ่งทำให้ รายได้รวม = ต้นทุนรวม
Break-Even Point จุดคุ้มทุน • สูตร Q Breakevenทำให้ รายได้รวม = ต้นทุนรวม • ถ้าบริษัทขาย/ผลิต Q >Q Breakevenบริษัทจะมีกำไร • ถ้าบริษัทขาย/ผลิต Q <Q Breakevenบริษัทจะ ขาดทุน • ถ้าบริษัทขาย/ผลิต Q =Q Breakeven บริษัทจะมีเท่าทุน Q Breakeven = TFC P – VC
ข้อ1.บริษัท เมย์จิวเวอรี่ P = 550 , VC = 235 , FC = 2,457,000 Q = TFC P - VC ข้อ 1.1 Q 2,457,000 (550 – 235) Q =………. หน่วย ANS คิดเป็นมูลค่า = บาท
Price เพิ่มขึ้น 12 % ดังนั้น ราคาใหม่ = 550 + (550*12%) = 616 ข้อ 1.2 Q = TFC P - VC Q 2,457,000 (616 – 235) Q = ……….. หน่วย ANS
FC ลดลง 10 % ดังนั้น FC ใหม่ = 2,457,000 – (2,457,000 *10%) = 2,211,300 ข้อ 1.3 Q = TFC P - VC Q = 2,211,300 (550 – 235) Q = ………. หน่วย ANS
VC ลดลง 5 % ดังนั้น VC ใหม่ = 235 – (235*5%) = 223.25 ข้อ 1.4 Q = TFC P - VC Q = 2,457,000 (550 – 223.25) Q = …………. หน่วย ANS
การวิเคราะห์การยกระดับกำไรจากความเสี่ยงที่เกิดจากค่าใช้จ่ายประจำ(Leverage)การวิเคราะห์การยกระดับกำไรจากความเสี่ยงที่เกิดจากค่าใช้จ่ายประจำ(Leverage) • ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Operating Leverage) • ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Leverage)
ความเสี่ยงทางธุรกิจ(Operating Leverage)
Operating Leverage • ที่มาของความเสี่ยงทางธุรกิจ • การวัดความเสี่ยงทางธุรกิจ = DOL(Degree -of Operating Leverage ) • การบริหารความเสี่ยงทางธุรกิจ • วิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis) • Indifferent Point of Operating Leverage (ไม่ออก)
ที่มาของความเสี่ยงทางธุรกิจที่มาของความเสี่ยงทางธุรกิจ • ต้นทุนคงที่เป็นค่าใช้จ่ายประจำหรือค่าใช้จ่ายคงที่* • ค่าเช่า เงินเดือนพนักงาน ค่าเสื่อมราคา ฯลฯ • ปัจจัยอื่นๆ • ความไม่แน่นอนของยอดขาย • ราคาขาย • ความไม่แน่นอนของต้นทุนการผลิต • ความสามารถในการพัฒนาสินค้า
Degree of Operating Leverage (DOL) • ดัชนีวัดประสิทธิภาพในการดำเนินงานของบริษัท โดย เปรียบเทียบระหว่าง • ยอดขาย (Q) • กำไรจากการดำเนินงาน (EBIT) • สูตร EBIT = PQ –VQ-FC
Degree of Operating Leverage (DOL) ใช้บอกระดับความเสี่ยงทางธุรกิจที่เกิดจากค่าใช้จ่ายประจำ(Fixed Cost) ที่แสดงให้เห็นถึง ความเปลี่ยนแปลงของกำไรจากการดำเนินงานเมื่อยอดขาย มีการเปลี่ยนแปลงไป หน่วยของ DOL= (เท่า) ตัวเลข ยิ่งมาก ยิ่งมีความเสี่ยงมาก
Degree of Operating Leverage (DOL) • การวิเคราะห์ DOL • ตัวเลขยิ่งสูง แปลว่า ความเสี่ยงยิ่งมาก • ถ้ายอดขาย (Q)เปลี่ยน Xเปอร์เซ็นต์จะส่งผลกระทบต่อกำไรจากการ ดำเนินงาน (EBIT)ให้เปลี่ยนเท่ากับ DOLคูณXเปอร์เซ็นต์ • Example: • ถ้า DOL = 5เท่า • แปลว่า หากยอดขายเพิ่มขึ้น 4% กำไรจากการดำเนินงานจะเพิ่มขึ้น 5 * 4% = 20 % • ถ้า DOL = 20เท่า • แปลว่า หากยอดขาย(ลดลง)4% กำไรจากการดำเนินงานจะ (ลดลง) 20 * 4% = 80 %
ข้อ2. บริษัท วีรชาติ ราคาขาย = 180 บาท ทางเลือกที่ 1ใช้เครื่องจักรผลิต : VC ถูกกว่า มีค่าเสื่อม เป็น FC 165,000 บาท VC 95 บาท/หน่วย ทางเลือกที่ 2ใช้คนงานผลิต : FC ถูกกว่า มีเงินเดือน เป็น FC 120,000 บาท VC 110 บาท/หน่วย
ข้อ 2.1 หา DOL ทางเลือกที่ 1 ถ้า Q1 =2,200 การหา DOLจะมี Q 2ตัว จากโจทย์ให้ Q2เท่ากับ 2,500 EBIT = PQ –VQ-FC
ข้อ 2.1 หา DOL ทางเลือกที่ 1 Q2 = 2,500 Q1 = 2,200ดังนั้น EBIT1 = (180*2,200)-(95*2,200)-165,000 = …………… บาท Q2 = 2,500 ดังนั้นEBIT2 = (180*2,500)-(95*2,500)-165,000 = ………….. บาท
ข้อ 2.1 หา DOL ทางเลือกที่ 1 ถ้า Q2 =2,500 DOL = (………… - ………….)/......... (2,500-2,200)/2,200 = …………. เท่า
ข้อ 2.4 • จากทางเลือกที่ 1 ได้ DOL = ………… เท่า • แปลว่า ถ้ายอดขายเพิ่มขึ้น 10% กำไรจากการดำเนินงาน (EBIT)จะเพิ่มขึ้น …………….* 10% = ………... %
การบ้าน ให้ทำข้อ 2.2 , 2.3 , 2.5
ความเสี่ยงทางการเงิน(Financial Leverage)
โครงสร้างของเงินทุน(Capital Structure) • คือ สัดส่วนของหนี้สินทั้งสิ้นและ ส่วนของผู้ถือ หุ้นสามัญ • โครงสร้างที่เหมาะสม: • ค่าของทุนต่ำสุด • ราคาตลาดของหุ้นสามัญสูงสุด • สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพเศรษฐกิจ และนโยบายการบริหารของธุรกิจ
กรณีศึกษา: บริษัทไหน มีความเสี่ยงทางการเงินมากกว่ากัน?
FinancialLeverage • ถ้ากิจการไม่มีการก่อหนี้ (All Equity Financing) ผู้ถือหุ้นสามัญจะรับความเสี่ยงทางธุรกิจอย่าง เดียว ความเสี่ยงทั้งสิ้น = ความเสี่ยงทางธุรกิจ
Financial Leverage • ถ้ากิจการมีการก่อหนี้ (Debt Financing)กิจการจะมีความเสี่ยงทางการเงินเพิ่มขึ้น • Total Leverage = Operating Leverage • +Financial Leverage ความเสี่ยงทั้งสิ้น = ความเสี่ยงทางธุรกิจ + ความเสี่ยงการเงิน
โครงสร้างเงินทุน = สัดส่วนของหนี้สิน และ ส่วนของทุน โครงสร้างที่เหมาะสม คือ สัดส่วนของหนี้สิน และทุนที่ทำให้ต้นทุนรวมของบริษัท (ค่าของทุน) ต่ำสุด & ราคาตลาดของหุ้นสามัญสูงสุด
ที่มาของความเสี่ยงทางการเงินที่มาของความเสี่ยงทางการเงิน • มีต้นทุนคงที่เป็นค่าใช้จ่ายประจำมาก* • ดอกเบี้ยจ่าย เช่น (เงินกู้ พันธบัตร หุ้นกู้) • เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์ เช่น ออกหุ้นบุริมสิทธิ์ เงินปันผลหุ้นสามัญ = ค่าใช้จ่ายคงที่/ประจำ?
Financial Leverage • หากบริษัทมีค่าใช้จ่ายคงที่การเงินสูง จะส่งผลให้ ผู้ถือหุ้นสามัญในบริษัทนั้นแบกความเสี่ยงสูงขึ้นไป ด้วย ดังนั้นผู้ถือหุ้นอาจต้องการผลตอบแทนในการ ลงทุนสูงขึ้นไปด้วย • ราคาหุ้นสามัญควรสูงขึ้น • ต้องจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นสามัญมากขึ้น
Financial Leverage • ที่มาของความเสี่ยงทางการเงิน • การวัดความเสี่ยงทางการเงิน = DFL • การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน • ต้นทุนทางการเงินต่ำที่สุด • กำไรต่อหุ้น(EPS)สูงที่สุด • Indifferent Point of Financial Leverage(ไม่ออกสอบ)
Indifferent Point of Financial Leverage • ในการระดมเงินทุนสามารถกระทำได้หลายทางเลือก • หุ้นกู้ / เงินกู้ (ดอกเบี้ยเงินกู้) • หุ้นบุริมสิทธิ์ (เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์) • หุ้นสามัญ
การบริหารความเสี่ยงทางการเงินการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน • Indifferent Point of Financial Leverage ทางเลือกที่ 1 • เงินกู้ธนาคาร 30,000 บาท • หุ้นสามัญ 50,000 บาท • หุ้นบุริมสิทธิ์ 20,000 บาท ทางเลือกที่ 2 • เงินกู้ธนาคาร 20,000 บาท • หุ้นสามัญ 40,000 บาท • หุ้นบุริมสิทธิ์ 40,000 บาท เลือกทางไหนดี ?
เพื่อทำ DFL การหา EPS ทางเลือก 2 ทางเลือก 1 EBIT xx xx -I xx xx EBT xx xx -T xx xx EAT xx xx -P xx xx EAT – P xx xx N xx xx EPS xx xx หาร
Degree of Financial Leverage (DFL) • ดัชนีวัดของทางเลือกของแหล่งเงินทุน โดยเปรียบเทียบระหว่าง • กำไรจากการดำเนินงาน (EBIT) • กำไรต่อหุ้นสามัญ (EPS) • สูตร EPS = กำไรสุทธิ - ปันผลบุริมสิทธิ์ จำนวนหุ้นสามัญ
Degree of Financial Leverage (DFL) ใช้บอกระดับความเสี่ยงทางการเงินที่เกิดจากค่าใช้จ่ายประจำ แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของ กำไรต่อหุ้นสามัญ (EPS) เมื่อกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี (EBIT)มีการเปลี่ยนแปลง หน่วยของ DFL=(เท่า) ตัวเลข ยิ่งมาก ยิ่งมีความเสี่ยงมาก
Degree of Financial Leverage (DFL) • การวิเคราะห์ DFL • ตัวเลขยิ่งสูง แปลว่า ความเสี่ยงยิ่งมาก • ถ้ากำไรจากการดำเนินงาน (EBIT)เปลี่ยน Xเปอร์เซ็นต์จะส่งผลกระทบต่อกำไรต่อหุ้น (EPS)ให้เปลี่ยนเท่ากับ DFLคูณX เปอร์เซ็นต์ • Example: • ถ้า DFL = 5เท่า • แปลว่า หากEBITเพิ่มขึ้น4%, EPSจะเพิ่มขึ้น 5 * 4% = 20 % • ถ้า DFL = 20 เท่า • แปลว่า หากEBIT(ลดลง)4%, EPSจะ (ลดลง)20 * 4% = 80 %
ข้อ 3.1 พิจารณาทางเลือกในการระดมทุนที่คุ้มที่สุด EBIT1 = 900,000
1 หุ้นCS+หุ้นกู้ 2 หุ้น PS+หุ้นกู้ ข้อ 3.1 EBIT 900,000 900,000 หัก ดอกเบี้ยจ่าย(90,000)(135,000) กำไรหลังดอกเบี้ย 810,000 765,000 หักTax (243,000)(229,500) กำไรสุทธิ 567,000 535,500 หัก เงินปันผลให้หุ้น PS - (90,000) กำไรให้หุ้นสามัญ 567,000 445,500 หาร จำนวนหุ้นสามัญ 350,000 หุ้น 150,000 หุ้น EPS ……… .……..
ข้อ 3.1 พิจารณาทางเลือกในการระดมทุนที่คุ้มที่สุด ดังนั้นควรเลือกทางเลือกที่ 2 คือ การระดมเงินทุน จากหุ้นบุริมสิทธิ์และหุ้นกู้ เพราะจะทำให้ บริษัทมี EPSสูงที่สุด
ข้อ 3.2 หา DFL ทางเลือกที่ 1 EBIT1 = 900,000 EBIT2 =800,000
ข้อ 3.2 หา DFL ทางเลือกที่ 1 ถ้า EBIT2 =800,000 EBIT1 = 900,000 ดังนั้น EPS1= ………. เท่า EBIT2 = 800,000 ดังนั้น EPS2=...... ต้องทำการหาใหม่ ดังนี้