350 likes | 924 Views
ปุ๋ย -Fertilizers. ปุ๋ย -Fertilizers. สารใดก็ตามที่มีธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีพของพืชและอยู่ในสภาพที่เหมาะสมที่ใส่ลงไปในดินหรือพืชโดยตรง สารใดที่ใส่เพื่อจุดประสงค์อื่น เช่นเพื่อยกระดับ pH แม้จะมี ธาตุอาหารเป็นองค์ประกอบ เราไม่ถือว่าเป็นปุ๋ย ยกตัวอย่างเช่น ปูนขาว.
E N D
ปุ๋ย-Fertilizers • สารใดก็ตามที่มีธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีพของพืชและอยู่ในสภาพที่เหมาะสมที่ใส่ลงไปในดินหรือพืชโดยตรง • สารใดที่ใส่เพื่อจุดประสงค์อื่น เช่นเพื่อยกระดับ pH แม้จะมีธาตุอาหารเป็นองค์ประกอบ เราไม่ถือว่าเป็นปุ๋ย ยกตัวอย่างเช่น ปูนขาว
ความหมายของศัพท์บางคำที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ยความหมายของศัพท์บางคำที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ย • ปุ๋ยเคมี(ปุ๋ยอนินทรีย์) เป็นปุ๋ยที่สังเคราะห์ขึ้นด้วยองค์ประกอบทางเคมี Ammonium Nitrate urae
ความหมายของศัพท์บางคำที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ยความหมายของศัพท์บางคำที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ย • ปุ๋ยอินทรีย์ เป็นปุ๋ยที่ได้มาจากการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติทางชีวภาพจาก กระบวนการ สับ บด หมัก ร่อน หรือวิธีอื่น
ความหมายของศัพท์บางคำที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ยความหมายของศัพท์บางคำที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ย • ธาตุปุ๋ย-หมายถึงธาตุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม เท่านั้น
ชนิดของปุ๋ยที่ควรรู้จักชนิดของปุ๋ยที่ควรรู้จัก • ยูเรีย (46-0-0) • ปุ๋ยนา (16-20-0)
ชนิดของปุ๋ยที่ควรรู้จักชนิดของปุ๋ยที่ควรรู้จัก • ปุ๋ย สูตรเสมอ หรือ ปุ๋ยรองพื้น (15-15-15) • (N – P – K )
แม่ปุ๋ย-ได้แก่สารประกอบสารหนึ่งสารใดที่มีธาตุปุ๋ยหนึ่งธาตุหรือมากกว่า เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต โพแทสเซียมไนเตรต • ปุ๋ยผสม(mixed fertilizer)-คือการได้มาจากแม่ปุ๋ย 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันเพื่อให้ได้ปุ๋ยที่มีสัดส่วนของ N P K ตามที่ต้องการ • ปุ๋ยเชิงเดี่ยว(straight fertilizer) เป็นปุ๋ยที่มีธาตุปุ๋ยหลักเพียงตัวเดียวเช่น N, P หรือ K เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต • ปุ๋ยเชิงผสม-การได้ปุ๋ยจากการผสมปุ๋ยเคมีประเภทต่างๆเข้าด้วยกัน
การจำแนกประเภทปุ๋ย • การจำแนกอิงสารประกอบที่ใช้เป็นปุ๋ยหลัก 1.ปุ๋ยอินทรีย์(organic fertilizer) คือปุ๋ยที่ได้มาจากธรรมชาติหรือสารประกอบอินทรีย์สารโดยตรงเช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด กากเมล็ดพืช กระดูกป่น 2.ปุ๋ยอนินทรีย์(inorganic fertilizer) ปุ๋ยที่สารประกอบอนินทรีย์ เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต ซุปเปอร์ฟอสเฟต
+NH3 NH4NO3 -33%N HNO3 +NaCO3 NaNO3 -16%N +O2 + Phosphates Rock Nitrophosphates -12-20%N +H2SO4 (NH4)2SO4 -21%N NH3 +H3PO4 Ammonium Phosphates -11-21%N +CO2 Urea -45%N +NH4NO3, Urea & H2O Nitrogen Solutions -27-53%N +H2O Aqua Ammonia -20%N
3.ปุ๋ยไนโตรเจนในรูปอนุพันธ์ของแอมโมเนีย3.ปุ๋ยไนโตรเจนในรูปอนุพันธ์ของแอมโมเนีย • 1.ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต • 2.ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต • 3.ปุ๋ยยูเรีย • 4.ปุ๋ยแอมโมเนียมตลอไรด์ • 5.ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต • 6.ปุ๋ยแคลเซียมแอมโมเนียมไนเตรต • 7.ปุ๋ยแคลเซียมไซยานามิก • 8.ปุ๋ยน้ำในรูปสารละลายไนโตรเจนและอควาร์แอมโมเนีย • 9.ปุ๋ยไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ต่อพืชอย่างช้าๆ
ชนิดของปุ๋ยฟอสเฟต • 1.เบสิกสแลก (Basic slag) • 2.กระดูกป่น (Bone meal)-B.P.L • 3.หินฟอสเฟต (Rock phosphate) • 4.ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต -ordinary superphosphate -Concentrated superphosphate
5.ปุ๋ยแคลเซียมฟอสเฟต • 6.ปุ๋ยแอมโมเนียม ซุปเปอร์ฟอสเฟต • 7.กรดฟอสฟอรัส • 8.กรดซุปเปอร์ฟอสฟอรัส แคลเซียมฟอสเฟต
ประเภทปุ๋ยโพแทสเซียมที่นิยมประเภทปุ๋ยโพแทสเซียมที่นิยม • 1. ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์(KCl) ปุ๋ยชนิดนี้จะมีปริมาณ %K2O นอกจากนี้จะให้ Clด้วยแต่พืชมักจะใช้ในปริมาณที่ไม่มาก และอาจจะมีผลต่อผลิตพืชบางชนิดเช่น ยาสูบและ มันฝรั่ง แต่พืชบางชนิดจะชอบเช่น มะเขือเทศ ผักกาดหัว
ประเภทปุ๋ยโพแทสเซียมที่นิยมประเภทปุ๋ยโพแทสเซียมที่นิยม • 2.ปุ๋ยโพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4) จะมีปริมาณ %K2O 48-50 ได้มาจากแร่ K2SO4.2MgSO4 + KClหรือ การ นำ KCl+ H2SO4แล้วตกผลึกได้ K2SO4และมีราคาแพงกว่า KCl
ประเภทปุ๋ยโพแทสเซียมที่นิยมประเภทปุ๋ยโพแทสเซียมที่นิยม • 3.ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรตPotassium nitrate ปุ๋ยนี้จะมีไนโตเจน 13% และ K2O 46%
ปุ๋ยผสม-Mixed Fertilizer • ปุ๋ยผสมธาตุอาหารไม่ครบ-incomplete fertilizer ปุ๋ยผสมที่มีธาตุอาหารไม่ครบ 3 ตัวและเกิดจากแม่ปุ๋ย 2 ชนิดมาผสมกัน โดยแม่ปุ๋ยมีธาตุต่างชนิดกันเช่น KNO3 หรือ ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต ( 18-46-0)
ปุ๋ยผสม-Mixed Fertilizer • ปุ๋ยผสมธาตุอาหารครบ-complete fertilizer ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารหลักครบ 3 ตัว ปุ๋ยผสมตัวนี้จะนิยมกว้างขวางเช่นสูตร 15-15-15, 13-13-21 และ 12-24-12
ปุ๋ยอินทรีย์-organic Fertilizer • 1.ปุ๋ยคอก-animal manure -ชนิดของสัตว์จะทำให้ได้ปริมาณธาตุอาหารแตกต่างกัน เช่นปริมาณ N, P, K หรือ จุลธาตุ
2.ปุ๋ยหมัก- compost -ชนิดของเศษอินทรีย์สารที่นำมาหมัก และระยะเวลาในการหมักปุ๋ย
3.ปุ๋ยพืชสด - พืชสดที่ปลูกในพื้นที่แล้วทำการไถกลบลงไปในดิน โดยปริมาณธาตุอาหารขึ้นอยู่กับชนิดพืชเช่นพืชตระกูลถั่ว
หลักการใช้ปุ๋ยเคมี • 1.ใช้ชนิดปุ๋ยที่ถูกต้อง • 2.ใช้ในปริมาณที่พอเหมาะ • 3.ใส่ให้กับพืชในระยะที่เหมาะสม • 4.ใส่ให้พืชโดยวิธีการที่ถูกต้องเพื่อพืชจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายและเร็วที่สุด
วิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆวิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆ • 1.การใส่แบบหว่าน-broadcasting • 2.การใส่แบบเฉพาะจุดหรือเป็นแถบ-localized placement • 3.การใส่แบบฉีดพ่นให้กับพืชโดยตรงทางใบ- foliar application • 4.การใส่ปุ๋ยในระบบชลประธาน-fertigation
สภาพที่เหมาะสมบางประการต่อการเลือกใช้วิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆสภาพที่เหมาะสมบางประการต่อการเลือกใช้วิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆ • 1.การใส่แบบหว่าน -ลักษณะของพืชที่ปลูกแบบหว่านหรือไม่เป็นแถว -พืชมีระบบรากฝอยมากเช่นหญ้า -เมื่อดินมีระดับธาตุอาหารเพียงพอและต้องการชดเชยส่วนที่หายไป -ปุ๋ยมีราคาถูกและต้องใช้ในปริมาณมากๆ -เป็นปุ๋ยที่ละลายน้ำได้น้อย เช่น หินฟอสเฟต และเบสิกสเล๊ก -เหมาะกับดินเนื้อหยาบ เช่นดินทราย ดินร่วนปนทราย
2.การใส่แบบเฉพาะจุด หรือเป็นแถบ • เหมาะสมสำหรับปุ๋ยเคมีที่มีการเคลื่อนย้ายในดินน้อย เช่นฟอสเฟต • เหมาะกับพืชที่ปลูกเป็นแถวเป็นแนว • เมื่อใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและโพแทสเซียมที่ละลายน้ำง่าย • เมื่อพืชมีระบบรากจำกัดหรือไม่แพร่กระจายทั่วไปในดินชั้นบน • เมื่อดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ
3.การใส่ปุ๋ยทางใบ • เมื่อพืชแสดงอาการขาดและการใส่ปุ๋ยทางดินช้าเกินไป • เมื่อการเกิดอาการขาดธาตุอาหารเสริมและปัญหาการตรึงธาตุอาหารในดิน • เป็นการต้องการธาตุอาหารเสริมในปริมาณเพียงเล็กน้อย • เมื่อจำเป็นต้องฉีดยาป้องกันโรคและแมลงศัตรูพืชสามารถทำในเวลาเดียวกัน • เมื่อต้องการเสริมปริมาณธาตุอาหารจากการใส่ทางดิน
4. Fertigationการให้ปุ๋ยในระบบชลประทาน ต้องการใช้ร่วมกับระบบการเกษตรที่มีขนาดแปลงใหญ่ ค่าใช้จ่ายและงบลงทุนสูง