230 likes | 376 Views
ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ ( Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ e-journal รายการนั้นจะสามารถเรียกดูเอกสารฉบับเต็ม ( Full Text) ได้ ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 1960. http ://www.scopus.com. วิธีการสืบค้น.
E N D
ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ e-journal รายการนั้นจะสามารถเรียกดูเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) ได้ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 1960 http://www.scopus.com
วิธีการสืบค้น 1. Search :เป็นการสืบค้นโดยใช้คำสำคัญ หรือเนื้อหาที่ต้องการ - Document Search : การสืบค้นโดยใส่วลีหรือคำสำคัญของเนื้อหา สามารถ Add search field ได้ - Author Search : การสืบค้นโดยใส่ชื่อผู้แต่ง เพื่อค้นหาบทความ - Affiliation Search : การสืบค้นโดยใส่ชื่อสถานที่ หรือชื่อมหาวิทยาลัย - Advance Search : การสืบค้นด้วยคำหรือประโยคยาวๆโดยใช้ and or not เชื่อมประโยคเหมาะสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 2. Source : การสืบค้นโดยเอกสารจะเรียงลำดับตามตัวอักษรของหัวเรื่อง และชื่อเรื่อง 3. Analytics : การวิเคราะห์คุณค่าของวารสารโดยดัชนีในรูปแบบกราฟ 4. My Alerts : การตั้งค่าการเตือนเฉพาะบทความที่สนใจ เมื่อมีบทความใหม่เข้ามา 5. My List : จัดเก็บบทความที่สนใจไว้ในรายการส่วนตัว 6. My Setting : จัดเก็บข้อมูลการบันทึกรายการส่วนตัวต่างๆ 3. Live Chat : โปรแกรม Chat สอบถามข้อมูลการใช้งานต่างๆ
Register Register : กรอกแบบฟอร์มและ Login เพื่อเข้าใช้บริการ My Alert และ My List หากไม่ต้องการใช้สามารถข้ามไปสู่หน้าจอการสืบค้นได้เลย
1.Search : Document Search Document Search : การสืบค้นเอกสารโดยใส่คำค้นที่ต้องการ และจำกัดผลการสืบค้น ด้วยเขตข้อมูลต่างๆ 2 1 3 4 5 1. Search for : ใส่คำหรือวลีที่ต้องการสืบค้น2. in : เลือกค้นเขตข้อมูลที่ต้องการ3. Date Range : จำกัดผลการสืบค้นเลือกโดยเลือกปีเริ่มต้น และปีสิ้นสุด4. Document Type : เลือกประเภทเอกสาร 5. Subject Areas : เลือกสาขาวิชาที่ต้องการ.
ผลการสืบค้น 3 1 2 1. แสดงผลการสืบค้นรายชื่อบทความทั้งหมด คลิกที่ชื่อบทความที่สนใจเพื่อดู บทคัดย่อ 2. ถ้าปรากฏคำว่าสามารถคลิกเพื่อดูเพื่อตรวจสอบว่าสามารถดูเอกสารฉบับเต็มได้หรือไม่มด 3. คลิกที่ช่อง เพื่อเลือกบทความ และคลิกที่ Export เพื่อ Download บทความที่สนใจไปเก็บไว้ในโปรแกรม Endnote
Search : Author Search Author Search : การสืบค้นโดยใช้ชื่อผู้แต่ง หรือสถานที่ ในการค้นหาเอกสาร 2 1 3 1. Last Name : ใส่นามสกุลของผู้แต่ง2. Initials or First Name : ใส่ชื่อของผู้แต่ง3. Affiliation : ใส่ชื่อหน่วยงานที่สังกัด
ผลการสืบค้น Reynold, O แสดงรายชื่อเอกสารทั้งหมดที่ได้ตีพิมพ์ไว้ของผู้แต่งที่ค้นหา คลิกเลือกเอกสารที่ต้องการ หรือสนใจ
Search : Affiliation Search Affiliation Search : การสืบค้นด้วยชื่อสถานที่ ใส่คำค้น ใส่ชื่อหน่วยงานที่ต้องการ หรือชื่อสถาบันการศึกษาลงในช่องสืบค้น
ผลการสืบค้น 1 2 1. Refine Result : จำกัดผลการด้วยเมือง (City) และประเทศ (Country)2. Affiliation result : ผลการสืบค้นให้ข้อมูลชื่อหน่วยงาน จำนวนผลงาน ชื่อเมือง และประเทศ ให้คลิกที่ชื่อหน่วยงาน เพื่อดูผลงาน
Search : Advance Search Advance Search : การสืบค้นโดยการใช้คำ หรือประโยคยาวๆได้ไม่จำกัด 1 2 1. Search For : ใส่คำ วลี หรือประโยค ลงในช่องการสืบค้น2. คำที่ใช้เชื่อมและโค้ด : เมื่อพิมพ์คำสืบค้นเสร็จแล้วให้คลิกที่คำเชื่อม หรือโค้ดที่ต้องการ
Refine results : การจำกัดผลการสืบค้น คลิกเลือกการจำกัด Refine result : จำกัดผลการสืบค้นด้วยเนื้อหา ชื่อผู้แต่ง ปี หน่วยงาน หรือหัวเรื่อง แล้วคลิกที่ Limit to
ผลการสืบค้น มีในฐานข้อมูล Science Direct คลิก SFX : softwareช่วย link เพื่อให้สามารถหาบทความจากฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดบอกรับได้สะดวก และรวดเร็ว โดยไม่ต้องไปค้นหาจากแต่ละฐานข้อมูลที่บอกรับ
2.Source Source : การสืบค้นโดยเลือกข้อมูลสาขาวิชา (Subject Area) ประเภทเอกสาร (Source Type) และเลือกข้อมูลที่ไล่เรียงตามลำดับอักษร A-Z 1.คลิกเลือกหัวเรื่อง 2.หรือคลิกเลือกตัวอักษรนำหน้าชื่อวารสาร 3.คลิกเลือกวารสารที่ต้องการ
Source คลิกเลือกวารสารจากปีที่ต้องการ ผลการสืบค้นวารสาร Biochemical Journal ให้ข้อมูลบรรณานุกรม สามารถคลิกเลือกวารสารจากปี
Source : ผลการสืบค้น 1.แสดงรายการผลการสืบค้นทั้งหมด 2.คลิกเลือกบทความที่ต้องการ จะปรากฏรายชื่อบทความของปี 2011 จำนวน 30 บทความ คลิกเลือกบทความที่สนใจ
Search Result : HTML Text บทความเอกสารในรูปแบบ HTML Text
Search Result : PDF File บทความเอกสารในรูปแบบ PDF File สามารถ Save และ Print เอกสารได้
3. Analytics 1.ใส่คำสืบค้น 2.เลือกหัวเรื่อง 4. แสดงข้อมูลสถิติการใช้ 3.เลือกชื่อวารสาร Analytics : การวิเคราะห์ค่าเอกสารโดยใช้ SNIP และ SJR ซึ่งเป็นดัชนีที่ Scopus นำเสนอเพื่อเป็นทางเลือกในการวัดคุณภาพวารสาร นอกเหนือจากการใช้ค่า Impact Factor (IF)
4. My Alerts My Alert : การตั้งค่าการเตือนเมื่อมีบทความวารสารใหม่ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการเข้ามา สามารถเข้าไป Edit ข้อมูลได้โดยคลิกเรื่องที่สนใจ ข้อมูลจะเก็บไว้ใน My Alert ทันที
5. My List บทความที่ถูกเก็บไว้ My List : การเก็บบทความที่สนใจไว้ในเอกสารส่วนตัว สามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนหลายบทความ
6. My Settings My Setting : รายการข้อมูลต่างๆที่ถูกเก็บ หรือบันทึกในรายการส่วนตัว ต้องสมัครสมาชิกและ Login ทุกครั้งจึงสามารถใช้ได้
7. Live Chat Chat เป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น Live Chat : เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการติดต่อสอบถามกับเจ้าหน้าที่ของฐานข้อมูลโดยตรง โดยต้องกรอกข้อมูล ชื่อ และE-mail ก่อนจึงจะสามารถ Chat ได้