1 / 14

สห สัมพันธ์ ( cor relation)

สห สัมพันธ์ ( cor relation). ความหมายของสหสัมพันธ์ (Correlation). คือ ดรรชนีที่บอกทิศทางและขนาดของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือมากกว่าสองตัว ที่เราเลือกมาศึกษา ว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ ในทิศทางใด สหสัมพันธ์มีหลายชนิดขึ้นกับจำนวนตัวแปรประเภทหรือลักษณะหรือระดับของการวัดตัวแปร.

adolph
Download Presentation

สห สัมพันธ์ ( cor relation)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สหสัมพันธ์(correlation)

  2. ความหมายของสหสัมพันธ์(Correlation)ความหมายของสหสัมพันธ์(Correlation) • คือ ดรรชนีที่บอกทิศทางและขนาดของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือมากกว่าสองตัว ที่เราเลือกมาศึกษา ว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ ในทิศทางใด • สหสัมพันธ์มีหลายชนิดขึ้นกับจำนวนตัวแปรประเภทหรือลักษณะหรือระดับของการวัดตัวแปร

  3. การเลือกใช้วิธีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรการเลือกใช้วิธีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

  4. การเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรการเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร • สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์เพียร์สันโพรดักโมเมนต์(Pearson Product Momet:rxy)ใช้สำหรับหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวซึ่งตัวแปร ทั้ง 2 เป็นตัวแปรต่อเนื่อง ( Continuous variable)หรือเป็นข้อมูลในมาตราอันตรภาคหรืออัตราส่วน มีสูตรคำนวณดังนี้ เมื่อ rxyคือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันดพรดักโมเมนต์ N คือ จำนวนคู่ของข้อมูล X คือ ค่าตัวแปรตัวที่ 1 Y คือ ค่าของตัวแปรที่ 2

  5. การเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรการเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร • สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สเปียแมนแรงค์หรือแบบอันดับ(Spearman rank order: )ใช้สำหรับหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว โดยที่ตัวแปรทั้งสองนั้นเป็นข้อมูลในมาตราอันดับ (Ordinal scale)

  6. การเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรการเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร • สัมประสิทธิ์ฟี (Phi coefficient:ф) ใช้สำหรับหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว ที่ข้อมูลลักษณะไม่ต่อเนื่อง (Discrete)และแปรค่าได้ 2 ค่าเท่านั้น ф= ad – bc (a+b)(c+d)(a+c)(b+d) วิธีการใช้สูตรต้องจัดข้อมูลลงในตาราง 2 × 2 ตัวแปร x x1 x2 ตัวแปร yy1 y2

  7. ลักษณะสำคัญของสหสัมพันธ์ลักษณะสำคัญของสหสัมพันธ์ • แทนด้วยสัญลักษณ์ r เป็นค่าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวแปร หรือคะแนนสองชุดว่าคล้อยตามกัน สอดคล้องกันหรือไม่ในระดับใด มีค่า ระหว่าง -1.00 ถึง 1.00

  8. ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล • ถ้า r = +1.00 แสดงว่าตัวแปร 2 ตัวหรือคะแนน 2 ชุดนั้น คล้อยตามกันอย่างสมบรูณ์ เช่น ถ้าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบคัดเลือกกับคะแนนผลการเรียน=+1.00 จะมีลักษณะดังนี้

  9. ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ)ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ) กรณีที่ r=+1.00 เมื่อนำคะแนนของแต่ละคนมาเขียนจุดกราฟจะมีลักษณะเป็นแนวเส้นตรงดังภาพ คะแนนผลการเรียน(y) คะแนนสอบคักเลือก(X)

  10. ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล • ถ้า r = -1.00 แสดงว่าตัวแปร 2 ตัวหรือคะแนน 2 ชุดนั้น มีขึ้นลงสวนทางกันอย่างสมบรูณ์ เช่น ถ้าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบคัดเลือกกับคะแนนผลการเรียน=-1.00 จะมีลักษณะดังนี้

  11. ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ)ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ) กรณีที่ r=-1.00 เมื่อนำคะแนนของแต่ละคนมาเขียนจุดกราฟจะมีลักษณะเป็นแนวเส้นตรงดังภาพ ซึ่งจะเห็นว่ามีทิศตรงข้ามกับกรณี r=+1.00 คะแนนผลการเรียน(y) คะแนนสอบคักเลือก(X)

  12. ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ)ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ) กรณีที่ r=0.00 แสดงว่าคะแนน 2 ชุด ไม่ขึ้นลงตามกัน ไม่สัมพันธ์กันเมื่อนำคะแนนของแต่ละคนมาเขียนจุดกราฟมีลักษณะไม่มีทิศทางดังในภาพ คะแนนผลการเรียน(y) คะแนนสอบคักเลือก(X)

  13. กราฟแสดงความสัมพันธ์แบบต่างๆกราฟแสดงความสัมพันธ์แบบต่างๆ Y X X r = -1 r = -.6 r = 0 Y Y X X r = 1 r = .6

  14. ตาราง Correlations จะแสดงสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (0.719)ความน่าจะเป็น (0.107) และขนาดของตัวอย่าง (6) โดยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวของมันเองเป็น 1.000 เสมอ ในที่นี้ความน่าจะเป็นแบบสองทางที่คำนวณได้คือ 0.107 ซึ่งมีค่าสูงกว่า 0.05 จึงสรุปว่าคะแนนสอบวิชา X และ Y ไม่มีความสัมพันธ์กัน ตัวแปรทั้งคู่ต้องมาจากข้อมูลเชิงปริมาณ (สูงกว่าเรียงลำดับ) ตัวอย่าง 1.1จงหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ผลคูณโมเมนต์ระหว่างคะแนนสอบวิชา X และ Y ที่มีคู่อันดับต่อไปนี้ (39, 23), (40, 30), (33, 25), (36, 32), (45, 40), (41, 35) และทดสอบว่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กันที่ระดับ 0.05 หรือไม่ วิธีทำป้อนข้อมูลลงใน SPSS ดังนี้ จากข้อมูลที่ป้อนแล้วนี้ ให้คลิก Analyze Correlate Bivariate จะปรากฎหน้าต่าง Bivariate Correlations จากนั้นก็คลิก x, y ให้ไปอยู่ในช่อง Variables และเลือก Pearson แล้วคลิก OK จะได้ผลลัพธ์ต่อไปนี้

More Related