370 likes | 440 Views
Discover the key factors for entrepreneurial success, including team composition, leadership, and market opportunities. Learn the drivers of venture creation and explore the role of teamwork in achieving business growth. Uncover insights from renowned experts in entrepreneurship.
E N D
Team Design H2 Team Composition Teamwork Quality H1 Team Leadership H3 Model of Hoegl (1998) Research Framework Team Performance and Potential
The Key Success Factors of Entrepreneurial Success: • An extraordinary entrepreneur, • A first-class founder team, and • Excellent market opportunities. Source: Bygrave, William D. (1998) in Faltin/ Ripsas/ Simmer „Entrepreneurship“, Beck, München.
Drivers of Venture Creation The Founder - Entrepreneurial Behaviour - Development of a management team - Learning and career strategy - Expertise and Know-How - Entrepreneurial Qualification - Personal Objectives - The way of thinking • Business Idea • - Recognizing, realizing • developing • - Timing • - Preconditions to realization • - Protection and Evaluation • - Economical Conditions • Analysis: Risk, • Customer Value, Profit • Resources • The team for growth • and expansion • Business plan and strategy • Finance • External coaching • Minimization of resource • deployment • - Resource control The interdependece of these factors and the evaluation of market opportunities determine new venture success. Source: Timmons, Jeffry A. (1998) in Faltin/ Ripsas/ Simmer „Entrepreneurship“, Beck, München.
What is an Entrepreneur? Motivation for Entrepreneurship • What are the whishes, desires and requirements of Entrepreneurs? • What are the key drivers for founding a new business? Need for Achievement: Need for Power 3. Internal locus of control: 4. Desire for Autonomy 5. Risk taking behaviour
What is an Entrepreneur? Competences 1. Education – Know-How: School, Apprenticeship, University – 2. Industry Experience: Management Experience: Social Competence: Communication, Self reflection, Self control, Sense of justice, Emotional intelligence, etc. Network Competence / Relationship Portfolio: Source: Gemünden / Konrad (2000)
โอกาสทางธุรกิจ (The Opportunity) • ความเป็นผู้ประกอบการ =Social Mobility • Timmons model= โอกาส + ทรัพยากร + ทีมงาน • ผู้ประกอบการสร้างตนเองขึ้นมาได้ • ทุกคนเริ่มธุรกิจได้ • ทุกคนเรียนรู้โอกาสและเข้าสู่โอกาส • ธุรกิจไม่ได้เริ่มจากเงินหรือจบที่ความล้มเหลว
คำถาม 1. จะเริ่มเส้นทางเป็นผู้ประกอบการอย่างไร 2. โอกาสดีต่างจากโอกาสไม่ดีอย่างไร 3. ในการสร้างธุรกิจใหม่มีกระบวนการอย่างไร 4. ต้องการใช้เงินเท่าไร เมื่อไร จากไหนบ้าง 5. ในขั้นตอนแรกจะต้องใช้วิธีการทำงานอย่างไร 6. จะเขียนแผนธุรกิจอย่างไร
คำถาม 7. จะบริหารงานอย่างไรในแต่ละช่วง 8. ผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จต้องคิดและทำงานอย่างไร
ความคิดในการสร้างธุรกิจความคิดในการสร้างธุรกิจ • ความคิดอย่างเดียวไม่พอและเป็นเพียงเครื่องมือในมือของผู้ประกอบการ • ความคิดมาจากความแตกต่าง • วิธีการคิดมาจากการจำลอง (Pattern Recognition) • คิดแบบใหม่ ๆ (Creative Thinking) • เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงจะเกิดโอกาสใหม่ขึ้นเสมอ ๆ • โอกาสมีจังหวะเวลาเปิดและปิด (Real Time)
การค้นหาโอกาส • อัตราการเติบโตเร็ว • มีขนาดตลาดใหญ่ • สามารถเข้าถึงตลาดได้ • โครงสร้างต้นทุน • ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ เช่น เข้าถึงจุดคุ้มทุนเร็ว ROI สูง, ใช้ทุนน้อย มีกระแสเงินสดเหลือมาก, กำไรขั้นต้นสูง • มีวิธีออกจากธุรกิจได้
ตัวอย่างการวางแผนในชีวิตตัวอย่างการวางแผนในชีวิต • 20 ปี จะเรียนวิชาหาความรู้ • 30 ปี รู้จักมหาวิทยาลัยชีวิต • 40 ปี เป็นผู้บริหารของชีวิต • 50 ปี เป็นเศรษฐี • 60 ปี ทำงานให้สังคม
คติชีวิต • เหตุแห่งความสำเร็จ ขยันแลประหยัด ยืนหยัดอดทน ทำตนเชื่อถือได้ อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักประมาณตน รู้ผิดแลรู้ชอบ ตั้งปณิธาน เข้าจิตใจผู้อื่น ไม่โลภรู้สันโดษ เด็ดเดี่ยวมั่นคง เป็นคนใจกว้าง กล้าได้กล้าเสีย
คติชีวิต • เหตุแห่งความล้มเหลว ไม่เข้าใจผู้อื่น ไม่ประมาณตน ไม่เดียงสาต่อการมิสำนึกผิดชอบ โลภโมโทสัน เย่อหยิ่งยโส โป้ปดมดเท็จ คบค้าเสเพล เกียจคร้านต่องาน ก่อหนี้ล้นพ้น ขี้เหล้าเมายา หูเบาเฉาปัญญา ทำตัวหัวไม้ไร้สัจจธรรม ใจคอคับแคบ คบคนไม่เลือก คิดคดล่อลวง สุรุ่ยสุร่าย ไร้อุดมการณ์ หลงการพนัน หุนหันพันแล่น จิตใจโลเล อิจฉาริษยา นอกรีดดื้อรั้น
Bygrave ซึ่งได้ชี้ลักษณะที่สำคัญ10ประการดังนี้ • 1. Dream : ผู้ประกอบการต้องมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล กอรปไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ใหม่ที่จะนำพาไปสู่การพัฒนาในธุรกิจต่อไป • 2. Decisiveness : ผู้ประกอบการต้องมีความกล้าตัดสินใจ รวมถึงมีวิจารณญาณที่แม่นยำ • 3. Deors : มีการตัดสินใจอย่างเฉียบขาดแม่นยำและมีความสามารถในการสั่งการและนำแผนงานไปปฏิบัติได้อย่างฉับไว • 4. Determination : มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการดำเนินงาน • 5. Dedication : สามารถทุ่มเทให้กับธุรกิจของตนได้อย่างเต็มที่ บ่อยครั้งผู้ประกอบการจะต้องสละความสุขสบายส่วนตัวเพื่อมาทุ่มเทเวลาและความพยายามให้กับการพัฒนาธุรกิจของตน • 6. Devotion : ผู้ประกอบการต้องมีความรักชอบธุรกิจของตนเป็นการเฉพาะตัวในอันที่จะฟูมฟักและทุ่มเทกายใจลงไปเพื่อสร้างผลงานของตนให้ประสบความสำเร็จตามที่มุ่งหวังและฝันไว้ • 7. Details : ผู้ประกอบการต้องเป็นผู้ช่างสังเกต และใส่ใจในรายละเอียดต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการประกอบธุรกิจของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขั้นตอนของการจัดตั้งธุรกิจใหม่ • 8. Destiny : ผู้ประกอบการเป็นผู้ที่ไม่ย่อท้อหรือยอมแพ้ต่อโชคชะตา มีความคิดว่าตนเองเป็นผู้กุมชะตาชีวิตและธุรกิจของตนไว้ในมือ • 9. Dollars : ผู้ประกอบการโดยทั่วไปมิได้คาดหวังในเรื่องผลตอบแทนที่เป็นตัวเงินว่าจะเป็นปัจจัยสำคัญในการกระตุ้นจูงใจในการจัดตั้งธุรกิจของตน มองเพียงแค่ผลพลอยได้จากความสำเร็จของธุรกิจของตนมากกว่า • 10. Distribute : ผู้ประกอบการควรจะต้องมีการกระจายความรับผิดชอบ และสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมให้กับพนักงานที่มีความสามารถและความสำคัญกับธุรกิจของตน
งานวิจัยเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการงานวิจัยเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการ • กลุ่มจิตวิทยา ศึกษาว่าผู้ประกอบการนั้นมีลักษณะอย่างไร เช่นในงานเกี่ยวกับการจูงใจเพื่อให้ประสบความสำเร็จ (Achievement Motivation)ของ David McClelland (1976)งานเกี่ยวกับเรื่องการเชื่อว่าผู้ประกอบการสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมภายนอก (External vs. Internal Control)ของ Brockaus และ Horwitz (1986)และ Wortman (1987)งานวิจัยเกี่ยวกับผู้ประกอบการในด้านความเสี่ยงของ Knight (1921)และงานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องการรับรู้ของศักยภาพตนเอง (Perceptions of Self-Esteem)ของ Carsrud, Olum และ Eddy (1986)เป็นงานวิจัยที่สำคัญเกี่ยวข้องกับลักษณะทางจิตวิทยาของผู้ประกอบการ
งานวิจัยเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการงานวิจัยเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการ • กลุ่มด้านสังคมวิทยา เช่น • Weber (1930) • เศรษฐกิจของวัฒนธรรมCasson (1990) • เครือข่ายAldrich & Zimmer(1986)Dubini & Aldrich(1981) • พันธมิตรทางธุรกิจHolt(1987) Golden & Dollinger(1993) • เครือข่ายที่ไม่เป็นทางการLow and MacMillan (1988) • ความเชื่อถือ Birley(1985) Johannisson(1987)
แนวคิดใหม่เกี่ยวกับเรื่องการเป็นผู้ประกอบการแนวคิดใหม่เกี่ยวกับเรื่องการเป็นผู้ประกอบการ • พฤติกรรมของบุคคล Gartner (1988) • พฤติกรรมของทั้งคนและสภาพแวดล้อมLewin(1951) • การตัดสินใจในการเลือก Stoner (1961) • กระบวนการการรับรู้ทางสังคม Fiske & Taylor(1991) • การรับรู้โอกาส (Mitton, 1989) • การรับรู้โอกาสเป็นเรื่องของการประมวลข้อมูลข่าวสารKahneman, Slovic, & Tversky(1982) Kahneman & Tversky( 1973) Tversky & Kahneman( 1974) • Role Model Schere, Adams, Carley และ Wiebe (1989) • การเรียนรู้ทางสังคม Bandura(1977) • ความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการสร้างธุรกิจHeider (1958) • ความล้มเหลวว่าเกิดขึ้นจากการขาดWeiner, Russell, Lerman (1978)
แนวคิดใหม่เกี่ยวกับเรื่องการเป็นผู้ประกอบการแนวคิดใหม่เกี่ยวกับเรื่องการเป็นผู้ประกอบการ • การตัดสินใจเลือกของเขาเอง สามารถจะควบคุมสถานการณ์และคนได้ Mitton (1989 • พฤติกรรมของการสูญเสียความคิดที่จะควบคุมBrehm(1996 ) Brehm & Brehm(1981) • ทฤษฎีการสิ้นหวัง Seligman(1975) • ลดทัศนะคติที่เชื่อว่าตนเองสามารถที่จะควบคุมDeci &Ryan( 1980) • ทฤษฎีการคาดหวัง Atkinson (1982) Fishbein & Ajzen (1975) Vroom (1964)
งานศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการสร้างธุรกิจใหม่จึงเป็นเรื่องของคน กระบวนการ และการเลือกนั่นเอง • ต้องการได้ผลที่ดีที่สุดในแต่ละความสัมพันธ์Thibaut & Kelley (1959) • การวิเคราะห์ทางเลือกLops (1987) Locke & Latham (1990)
เรียนรู้จากสุภาษิตในการทำธุรกิจเรียนรู้จากสุภาษิตในการทำธุรกิจ
สุภาษิตจีน • ทุกอย่างมีอุปสรรคเมื่อเริ่มต้น • น้ำแข็งหนึ่งศอกไม่ได้เกิดในวันเดียว • ชื่อเสียงของผู้ประกอบการล้วนสร้างมาจากความล้มเหลว • ถ้าไม่เข้าดงเสือ ก็ไม่ได้ลูกเสือ • ถ้าอยากได้ปลา จงกลับบ้านไปทอดแห • งานนั้นกลัวคนตั้งใจจริง • ตื่นเช้าสามวันได้งานหนึ่งวัน
สุภาษิตจีน • อยากสำเร็จปรึกษาคนแก่สามคน • ลอกเลียนเพื่อริเริ่ม • ทัศนะกว้างไกล ไม่ต้องทำผิดซ้ำสอง • คนมีวางแผนอนาคต คนจนวางแผนปัจจุบัน • เงินเล็กไม่ออก เงินใหญ่ไม่เข้า • กำไรมาก ก็เสี่ยงมาก • คนไม่ยิ้มไม่ควรเปิดร้าน
สุภาษิตจีน • ไปที่ใด ก็พูดภาษาของที่นั่น • รู้เขา รู้เรา เอ่ยปากขายย่อมขายได้ • ความหยิ่งนำมาซึ่งความฉิบหาย ความอ่อนน้อมนำมาซึ่งผลดี • เปิดร้านง่าย รักษาร้านให้เปิดยาก • ถ้าเชื่อในการพนัน ที่สุดก็ต้องขายบ้าน • พระต้องกลับวัด เหมือนพ่อค้าต้องกลับร้าน • สงสัยอย่าจ้างคน จ้างคนแล้วอย่าสงสัย
สุภาษิตจีน • มอบหมายงาน อย่าสักแต่สั่งการ • เกลือกินที่ไหนก็ได้ผล เงินใช้ที่ไหนก็ได้ผล • นักธุรกิจที่ไม่รับเงินสด ไม่ใช่นักธุรกิจ • รับเงินสดแปดร้อย ดีกว่าขายเชื่อหนึ่งพัน • สินเชื่อทำให้เสียลูกค้าไปหลายคน • เงินสดหาของใส่ร้านได้ทุกอย่าง • ครอบครัวอยู่สงบปรองดอง กิจการเจริญ
สุภาษิตยิว • คนควรมีชีวิตให้นานที่สุด ตราบเท่าที่เขายังเลี้ยงตัวเองได้ • เมื่อท่านได้อยู่ต่อไป ก็เท่ากับท่านได้อยู่เพื่อเห็นทุกสิ่งทุกอย่าง • ชีวิตที่เลวที่สุด ดีกว่าการตายที่ดีที่สุด • โชคดีอย่างเดียวไม่ช่วยมนุษย์ ถ้ามนุษย์ไม่ร่วมมือด้วย • ปล่อยให้โชคดีตามหาคน ดีกว่าให้คนตามหาโชคดี • คนที่อยู่รั้งท้ายย่อมถูกหมากัด • คนที่มาที่หลัง ก็ตามกินของเหลือ
สุภาษิตยิว • จงวิ่งหนีสิ่งที่ทำให้เสียเกียรติ และอย่าวิ่งไล่ตามความมีเกรียติ • เมื่อท่านหัวเราะคนอื่นเห็น เมื่อท่านร้องไห้ไม่มีใครเห็น • หาเงินง่ายกว่ารักษาเงิน • มีให้เก็บไว้ รู้ให้เขียน ทำได้ให้ทำ • ระวังก่อนทีหลังไม่ต้องกลัว • ขายของเล็ก ๆ น้อย ๆ บนถนนรวยยาก • แม่คนเดียวเลี้ยงลูกสิบคนได้ แต่ลูกสิบคนเลี้ยงแม่คนเดียวไม่ได้
สุภาษิตยิว • ถามเสียสิบครั้งดีกว่าไปผิดทางครั้งเดียว (จงใช้ปากให้เป็นประโยชน์) • จงทำความดีและไม่ต้องถามว่าเพื่อใคร • นาฬิกาที่หยุดเดิน ดีกว่านาฬิกาที่เดินผิด • น้ำตาชำระหนี้ไม่ได้ (การคร่ำครวญไม่ทำให้หนี้สินหมดไป) • ตามีขนาดเล็กแต่ก็มองเห็นได้ทั้งโลก • จงหาเพื่อนใหม่ไว้แต่อย่าลืมเพื่อนเก่า • นักว่ายน้ำที่ดี ก็จมน้ำตายบ่อย ๆ
สุภาษิตอินเดีย • เกียจคร้านพาจน ไม่กระทำพาไปสู่ความไม่ใส่ใจ • ไม่ออกแรงไม่มีกำไร • ที่ว่ามีสองทางให้เลือก คือไม่ได้ก็เสีย • ถ้าต้องการมาก ก็เสียมาก • เรียนรู้อนาคต โดยดูอดีต • ชำระเงินช้าไม่ดี • ลูกค้าย่อมเป็นที่รู้จักของเจ้าของร้าน
สุภาษิตอินเดีย • ทรัพย์ของคนโง่ เป็นของทุกคน • ข้าวยาก ทุกอย่างแพง • ผลไม้หล่นอยู่โคนต้น • กษัตริย์ไร้ที่ปรึกษาเหมือนคนเดินทางที่ตาบอด • เกียจคร้านแต่น้อยจะทำให้เสียใจมาก • ของขวัญเป็นอาหารที่ดีที่สุด • อย่าเชื่อทุกอย่างที่ได้ยิน
สุภาษิตอินเดีย • ตามใจลูก ลูกจะเสีย • คนขี้เมาเหมือนคนบ้า • ให้ยืมสร้างศัตรู • ไม่ออกแรงไม่มีกำไร • การสอนเป็นทรัพย์ การเรียนรู้เป็นเกียรติ • เหยื่อล่อใดก็ใช้ได้ตราบเท่าที่พานกเข้ามาได้
บทเรียนจากห่านป่า “เมื่อห่านแต่ละตัวขยับปีก มันจะสร้างแรงพยุงสำหรับห่านตัวที่อยู่ลำดับถัดไป ดังนั้น เมื่อห่านบินเป็นรูปตัววี จึงสามารถบินไปได้ไกลกว่านกธรรมดาบินถึง 71%” บทเรียน เมื่อแต่ละคนเข้าใจในทิศทางร่วมกันและดำเนินงานเป็นทีม เขาเองก็จะไปถึงเป้าหมายได้เร็วกว่าและง่ายกว่า เพราะต่างคนต่างรู้สึกว่ากำลังเดินทางร่วมกันด้วยความเชื่อมั่นในอีกฝ่ายหนึ่ง
บทเรียนจากห่านป่า “เมื่อใดที่ห่านป่าตัวหนึ่งหลุดจากฝูง ห่านตัวนั้นจะรู้สึกเชื่องช้าลง ลำบากที่จะบินคนเดียว พยายามจะกลับเข้ามาในฝูงใหม่ เพื่อจะได้รับกำลังพยุงจากการบินเป็นฝูง” บทเรียน หากเราเรียนรู้ความรู้สึกของฝูงห่านป่าเราก็พยายามที่จะร่วมทีมไปกับผู้ที่นำเราไปยังเป้าหมายที่ต้องการ
บทเรียนจากห่านป่า “เมื่อหัวหน้าฝูงรู้สึกเหนื่อยมันจะบินกลับเข้ามายังหลังของฝูงและทันทีก็จะมีห่านอีกตัวหนึ่งบินเข้าไปแทนในตำแหน่งดังกล่าว” บทเรียน ห่านรู้ที่จะสลับหน้าที่ในการที่จะทำงานหนักและร่วมกันเป็นหัวหน้าฝูง เช่นเดียวกันกับคนซึ่งต่างฝ่ายต่างต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน
บทเรียนจากห่านป่า “ห่านที่อยู่ในฝูงที่อยู่ข้างหลังจะร้องเสียงดังเพื่อให้กำลังใจให้ตัวที่บินอยู่ข้างหน้าพยายามรักษาระดับความเร็วเอาไว้” บทเรียน เราต้องการที่จะรู้ว่าเสียงสนับสนุนจากข้างหลังนั้นเป็นการให้กำลังใจและเป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง
บทเรียนจากห่านป่า “เมื่อห่านตัวหนึ่งบาดเจ็บหรือถูกยิง ห่านอีกคู่หนึ่งจะบินออกจากฝูงและประกบห่านตัวนั้น เพื่อจะปกป้องเขาเอาไว้ และจะอยู่ จนกระทั่งห่านตัวนั้นสามารถจะบินกลับเข้ามาฝูงใหม่ หรือจนกว่าห่านตัวนั้นได้หมดลมหายใจไป หลังจากนั้นห่านคู่นั้นเองก็จะบินเข้าไปร่วมกับฝูงอื่นหรือพยายามตามฝูงเดิมของตนเอง” บทเรียน หากเราเหมือนห่านป่า เราหวังว่าเราจะยืนเคียงข้างซึ่งกันและกัน