150 likes | 260 Views
ภารกิจหลัก 3 ด้าน. 1. 2. 3. บริหารจัดการหนี้สาธารณะ และภาระผูกพัน (Public Debt and Liabilities Management). ระดมทุนให้ภาครัฐ (Fund Mobilizing). พัฒนาตลาดตราสารหนี้ ในประเทศ (Domestic Debt Market Development). 3 C ore M issions. 2. External Forces. P.
E N D
ภารกิจหลัก 3 ด้าน 1 2 3 บริหารจัดการหนี้สาธารณะ และภาระผูกพัน (Public Debt and Liabilities Management) ระดมทุนให้ภาครัฐ (Fund Mobilizing) พัฒนาตลาดตราสารหนี้ ในประเทศ (Domestic Debt Market Development) 3CoreMissions 2
External Forces P ความจำเป็นในการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน D นโยบายการลดการก่อหนี้สาธารณะ / นโยบายงบประมาณสมดุล /การลงทุนใน Mega Projects ที่เพิ่มขึ้น M การระดมทุนโดยวิธีการใหม่ๆ ทำให้ต้นทุนการระดมเงินและภาระผูกพันในอนาคตเพิ่มขึ้น O การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทยให้เป็นแหล่งระดมทุนในระดับภูมิภาค 3
Internal Forces P ความจำเป็นต้องสร้างระบบการบริหารความเสี่ยง สำหรับบริหารหนี้และภาระผูกพันในอนาคต D ความจำเป็นต้องสร้างระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผลการใช้จ่ายเงินกู้ของภาครัฐ M ความจำเป็นในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศให้แข็งแกร่งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระดมเงินและเป็นทางเลือกในการลงทุน O ปรับระบบบริหารจัดการ ประสิทธิภาพ ความทันสมัย ความโปร่งใส ในการทำงาน 4
Core Business กลยุทธ์ของ สบน. ยุทธศาสตร์ กค. บริหารจัดการหนี้สาธารณะและภาระผูกพัน ความยั่งยืนทางการคลัง การบริหารหนี้สาธารณะในเชิงรุก พัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นแหล่งระดมทุนในระดับภูมิภาค การพัฒนาความแข็งแกร่ง ของระบบการเงินที่ยั่งยืน พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน เป็น CFO ในการระดมทุนสำหรับโครงการลงทุนภาครัฐ ระดมทุนให้ภาครัฐ การปรับระบบบริหารจัดการ ประสิทธิภาพ ความทันสมัย และความโปร่งใส • Customer-based Organization • เสริมสร้างความแข็งแกร่งของ Supporting Functions (IT, HR, PR) 5
กลยุทธ์ของ สบน. KPI การบริหารหนี้สาธารณะในเชิงรุก • ลดหนี้ต่างประเทศ • - Prepay 17,000 ล้านบาท • - Refinance 20,000 ล้านบาท • - กู้เงินบาททดแทน 6,500 ล้านบาท - ต้นทุนต่ำ - กรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม -ภายใต้กรอบความยั่งยืน ทางการคลัง • บริหารหนี้ต่างประเทศ • - Refinance 110,000 ล้านบาท • - Swap 94,000 ล้านบาท • ลดภาระดอกเบี้ย 4,900ล้านบาท Pro ActiveDebt Management 7 6
กลยุทธ์ของ สบน. KPI พัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นแหล่งระดมทุนในระดับภูมิภาค • มูลค่าตลาดรวม 50% ของ GDP และ • Foreign Participation ไม่น้อยกว่า 2% ของมูลค่าตลาดรวม ภายในปี 2551 • ความคืบหน้าในการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานตลาดตราสารหนี้ • - Yield Curve / NCB / Scripless / SRO • - Clearing and Settlement: Thai - Clear • มีผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้ที่หลากหลาย • มีระบบสนับสนุนให้เกิดสภาพคล่องในตลาดรอง • - Private Repo / Primary Dealers Advanced Market & Regional Linkages 7
กลยุทธ์ของ สบน. KPI เป็น CFO ในการระดมทุนสำหรับโครงการลงทุนภาครัฐ - Fund Mobilizing - Financial Innovation - Project/Program Financing - Monitoring and Evaluation - Capacity Building for Local Administration and Public Organization • เป้าหมายปี 2548 • - โครงการ 40 โครงการ • - วงเงินกู้ 90,000 ล้านบาท • ทั้งนี้ ยังไม่รวมการระดมเงินสำหรับ Mega Projects CFO’s Mega Projects 8
กลยุทธ์ของ สบน. KPI IT HR • Customer-based Organization • ปรับโครงสร้างองค์กร • เสริมสร้างความแข็งแกร่งของ Supporting Functions • พัฒนาระบบ IT สำเร็จ 5 ใน 8 ระบบ PR • รายงานสถานะหนี้/ผลการดำเนินงาน ของ สบน. รายเดือน • เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ • - Exchange Program • - PDMO Networking • - Lunch Talk • จัด Road Show ด้านตราสารหนี้ 2 ครั้ง • ข้าราชการ สบน. ได้รับการอบรมอย่างน้อย • 2 ครั้งต่อปี SupportingFunctions 9
IT Systems Risk Model CS-DRMS SRO CreditScoring Back BoneIT System E-Bidding OSU PaymentSystem Evaluation Treasury(Cash Mgt.) Existing Developing Future 10
โปร่งใส วินัยดี มีเครดิต 11
ผอ.สบน. ชช. 9 Front Office ด้านบริหารความเสี่ยง และภาระผูกพัน สำนักผู้อำนวยการ - กลั่นกรองงาน - สนับสนุนงานด้านบริหาร - ประชาสัมพันธ์ Middle Office ชช. 9 ด้านการระดมทุนและ นวัตกรรมทางการเงิน Back Office ชช. 9 ด้านพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ในประเทศ กลุ่มงานส่งเสริมประสิทธิภาพ (รวมงาน HR) กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มงานกฎหมาย ด้านการบริหารหนี้ อปท. และองค์กรพิเศษ ชช. 9 ด้านกำกับ ติดตาม และประเมินผล ชช. 9 รอง ผอ.สบน. รอง ผอ.สบน. ชช. 9 ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักบริหารจัดการ หนี้สาธารณะ 1 สำนักบริหารจัดการ หนี้สาธารณะ 2 สำนักนโยบาย และแผน สำนักพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ในประเทศ สำนักบริหาร การชำระหนี้ สำนักงาน เลขานุการ - วิเคราะห์โครงการ - เงินกู้ตาม กม. พิเศษ - เงินกู้ชดเชยขาดดุล - เงินกู้โครงการ ส่วนราชการ - ติดตามประเมินผล - วิเคราะห์โครงการ - เงินกู้โครงการ SOEs - Mega Projects - อปท. - SFIs - ติดตามประเมินผล - นโยบายและแผน - จัดลำดับความสำคัญ โครงการ - นโยบายค้ำประกัน และความเสี่ยง - ความร่วมมือ ระหว่าง ประเทศ - ตลาดแรก - ตลาดรอง - โครงสร้างพื้นฐาน - บริหารการชำระหนี้ - บริหารเงินให้กู้ต่อ - บริหารเงินกองทุน - สารบรรณ - คลังและพัสดุ - ระบบงานและ บริหารบุคคล - บริหารงาน ทั่วไป ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ (IT) Consultants Center OSU/ Evaluation E-Bidding Treasury Credit Scoring CS- DRMS Risk Model SRO Payment System
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นปี 2539 - ปัจจุบัน