710 likes | 1.15k Views
เศรษฐศาสตร์การคลัง (Public Finance). พรรณพิลาส เรืองวิสุทธิ์ ผู้บริหารทีมวิเคราะห์การคลัง สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย. หลักสูตรนายทหารอาวุโส รุ่นที่ 42 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ 20 มกราคม 2553. หัวข้อในวันนี้. หลักเศรษฐศาสตร์การคลัง นโยบายการคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
E N D
เศรษฐศาสตร์การคลัง(Public Finance) พรรณพิลาส เรืองวิสุทธิ์ ผู้บริหารทีมวิเคราะห์การคลัง สายนโยบายการเงินธนาคารแห่งประเทศไทย หลักสูตรนายทหารอาวุโส รุ่นที่ 42 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ 20 มกราคม 2553
หัวข้อในวันนี้ • หลักเศรษฐศาสตร์การคลัง • นโยบายการคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจ • นโยบายการคลังของไทย • นโยบายการคลังกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน • ประเด็นด้านการคลัง
เป้าหมายในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจเป้าหมายในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน - ภายในประเทศ : เงินเฟ้อ - ภายนอกประเทศ : อัตราแลกเปลี่ยน นโยบายเศรษฐกิจ เป้าหมายการดำเนินนโยบาย เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้ที่เป็นธรรม Green GDP/ GNH - ประชาชนมีความสุข มีความเป็นอยู่ดีขึ้น - GDP Growth - ลดความยากจน
ทำไมถึงต้องมีรัฐบาล? • ทางทฤษฎี : ไม่ควรมีรัฐบาล ปล่อยให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นไปตามกลไกตลาด ซึ่งจะก่อให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด • ทางปฏิบัติ : กลไกตลาดไม่ทำงาน (Market Failure) • ผลกระทบภายนอก (externality) • การผูกขาดตลาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) • การมีข้อมูลที่ไม่เท่าเทียมกัน (Asymmetric Information) • สินค้าสาธารณะ (Public Goods) การป้องกันประเทศ การดูแลความสงบภายใน สินค้าสาธารณะ
ขนาดของรัฐบาล รัฐบาลเข้ามามีบทบาทในเศรษฐกิจมากแค่ไหน? • พิจารณาจากขนาดการใช้จ่ายของรัฐบาลต่อขนาดเศรษฐกิจ % Government Expenditure / GDP Source: International Monetary Fund (2006)
GDP in 2008 Y = C + I + G + (X – M)
บทบาทของรัฐบาล แหล่งที่มาของการเติบโตทางเศรษฐกิจ : Y = C + I + G + (X – M) %YoY Source: NESDB
หัวข้อในวันนี้ • หลักเศรษฐศาสตร์การคลัง • นโยบายการคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจ • นโยบายการคลังของไทย • นโยบายการคลังกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน • ประเด็นด้านการคลัง
2. นโยบายการคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจ • ความครอบคลุมของนโยบายการคลัง • ประเภทของนโยบายการคลัง • เครื่องมือ 1. การเก็บภาษี 2. การใช้จ่ายจากรัฐ • ตัวทวีคูณทางการคลัง • Government Multiplier • Tax Multiplier
นิยามและความครอบคลุม Public Sector Onion Financial Public Enterprise นิยามแคบ Non-Financial Public Enterprise Local Government Extra-Budget Non-Budget Budget นิยามกว้าง
การดำเนินนโยบายการคลังเกี่ยวข้องกับกิจกรรมในและนอกงบประมาณการดำเนินนโยบายการคลังเกี่ยวข้องกับกิจกรรมในและนอกงบประมาณ เงินในงบประมาณ 4 หน่วยงานหลักในการกำหนดวงเงินและโครงสร้างงบประมาณ 1. กิจกรรมในงบประมาณ กระทรวงการคลัง http://www.mof.go.th/ กระทรวง ทบวง กรม การจัดเก็บรายได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงบประมาณ http://www.bb.go.th/ กองทุนหมุนเวียน องค์กรอิสระ องค์การมหาชน แผนยุทธศาสตร์งปม. & จัดสรรงบประมาณ พ.ร.บ. งบประมาณประจำปี สศช. (สภาพัฒน์ฯ) http://www.nesdb.go.th/ เงินอุดหนุนการลงทุนรัฐวิสาหกิจ แผนพัฒนาศก. และสังคมฯ (5 ปี) กรอบการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ 2. กิจกรรมนอกงบประมาณ ธนาคารแห่งประเทศไทย http://www.bot.or.th/ ประมาณการเศรษฐกิจ ประเมินแรงกระตุ้นและความยั่งยืนภาคการคลัง เงินนอกงบประมาณ
กิจกรรมกึ่งการคลัง (Quasi-fiscal Activities) • คือ การดำเนินนโยบายของรัฐบาลผ่านหน่วยงานอื่น ได้แก่ สง.รัฐ ธนาคารกลาง และรัฐวิสาหกิจ • เป็นช่องทางของรัฐในการใช้จ่ายสู่เศรษฐกิจ โดยไม่ต้องอาศัยเงินงบประมาณโดยตรงและในทันที • แต่จะกระทบต่อฐานะการเงินของหน่วยงานเหล่านี้ในรูปของค่าใช้จ่าย รายรับ และกำไร/ขาดทุน • ผลกระทบต่อรัฐบาลจะเกิดขึ้นในภายหลัง • ดุลรัฐบาล (การนำส่งกำไร/ขาดทุนให้แก่รัฐ) • งบประมาณ (การจัดสรรงบประมาณอุดหนุนผลขาดทุนในภายหลัง) • หนี้สาธารณะ (หากมี NPLs มากจนฐานะการเงินไม่มั่นคง รัฐต้องเข้าเพิ่มทุน กลายเป็นภาระการคลัง) • ตัวอย่าง Central Bank SFIs SOE บ้านเอื้ออาทร (การเคหะแห่งชาติ)แทรกแซงราคายาง (องค์กรสวนยาง) พักชำระหนี้เกษตรกรกองทุนหมู่บ้านธนาคารประชาชนสินเชื่อ SMEsบ้านเอื้ออาทร การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจ(Soft Loan) ธปท. ทยอยลดบทบาทนี้ลงตาม พรบ. ธปท. (ฉบับใหม่) พ.ศ. 2551
ประเภทของนโยบายการคลังประเภทของนโยบายการคลัง 1. นโยบายการคลังแบบขยาย(Expansionary Fiscal Policy) 2. นโยบายการคลังแบบเป็นกลาง (Neutral Fiscal Policy) 3. นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary Fiscal Policy) จัดเก็บรายได้ < ใช้จ่าย กระตุ้นเศรษฐกิจ (งบประมาณแบบขาดดุล) จัดเก็บรายได้ = ใช้จ่าย รักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจ (งบประมาณแบบสมดุล) จัดเก็บรายได้ > ใช้จ่าย ชะลอเศรษฐกิจ (งบประมาณแบบเกินดุล)
ผลของตัวทวีคูณการคลังผลของตัวทวีคูณการคลัง • รัฐใช้จ่าย ก่อให้เกิดกิจกรรมและรายได้ในเศรษฐกิจเป็นเม็ดเงินมากกว่าที่รัฐจ่าย • ตัวอย่าง ใช้จ่ายต่อแค่ 80% =80฿ ใช้จ่ายต่อแค่ 80% =64฿ Gใช้จ่าย ผู้ขายก. มีรายได้100฿ ผู้ขาย ข. มีรายได้80฿ ผู้ขาย ค. มีรายได้64฿ 100฿ ใช้จ่ายต่อ >100฿ ผู้ขาย…มีรายได้…฿ ใช้จ่ายต่อ • นโยบายการคลังจึงมีผลทวีคูณต่อเศรษฐกิจ ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวได้
ตัวทวีคูณการคลัง:Tax Multiplier • รัฐลดภาษี เกิดกิจกรรมและรายได้ในเศรษฐกิจเป็นเม็ดเงินมากกว่าภาษีที่รัฐสูญไป • ตัวอย่าง ใช้จ่ายต่อแค่ 80% =80฿ ใช้จ่ายต่อแค่ 80% =64฿ Tลดภาษี ผู้เสียภาษีมีรายได้หลังภาษีเพิ่ม 100฿ ผู้ขาย ก. มีรายได้80฿ ผู้ขาย ข. มีรายได้64฿ -100฿ ใช้จ่ายต่อ >100฿ ผู้ขาย…มีรายได้…฿ ใช้จ่ายต่อ • นโยบายการคลังจึงมีผลทวีคูณต่อเศรษฐกิจ ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวได้
หัวข้อในวันนี้ • หลักเศรษฐศาสตร์การคลัง • นโยบายการคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจ • นโยบายการคลังของไทย • นโยบายการคลังกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน • ประเด็นด้านการคลัง
3. นโยบายการคลังของไทย • สมัยสุโขทัย รัฐมีรายได้จากจังกอบ อากร ส่วย และ ฤชา • สมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งกรมพระคลัง และมีพระคลังสินค้า • สมัย ร.3 เริ่มผูกขาดการเก็บภาษีอากรจากราษฎรโดยตรง • สมัย ร.4 ตั้ง Customs House เก็บภาษีขาเข้า (ตามสนธิสัญญาบาวริ่ง) • สมัย ร.5ลัทธิล่าอาณานิคมแผ่ขยาย จึงเร่งสร้างความมั่นคงในประเทศ (การรถไฟ ไปรษณีย์ และโทรเลข) รัฐขาดดุลงปม. และต้องกู้ต่างประเทศ • สมัย ร.6เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกหลัง WW I และมีรายจ่ายในราชสำนักสูง ทำให้งปม.ขาดดุลและใช้เงินคงคลังมาก ฐานะการคลังอ่อนแอ • สมัย ร.7แก้ปัญหาด้วยการรัดเข็มขัดอย่างรุนแรง (ลดรายจ่าย) • หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง (2475 – 2500) • หลัง WW II ต้องชำระค่าปฏิกรณ์สงคราม และมีการลงทุนตั้งรัฐวิสาหกิจขึ้นมากสนองความขาดแคลนในประเทศ รายจ่ายสูง ใช้เงินคงคลังมาก (ใช้จ่ายเพิ่มเติมจาก งปม. ได้กรณีฉุกเฉินตาม พรบ.เงินคงคลัง) • วางระเบียบการใช้จ่ายเงินใหม่ ยึดรายได้เป็นหลักเกณฑ์ในการตั้งรายจ่าย (ไม่ใช่รายจ่ายเป็นเกณฑ์เช่นอดีต) • แผนฯ 1 – ก่อน Oil Crisis Iรายจ่ายลงทุนสูงเพื่อสร้างสาธารณูปโภคที่จำเป็น จึงขาดดุล งปม. ต่อเนื่อง • Oil Crisis I – IIเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก รายได้รัฐลดต่ำ และรัฐใช้จ่ายสูง ขาดดุลการคลังต่อเนื่อง • หลัง Oil Crisis II – 2531รัดเข็มขัด เร่งหารายได้ ขยายฐานภาษี ฟื้นฐานะการคลังได้สำเร็จ • ก่อน Crisis 1997เศรษฐกิจขยายตัวดี ฐานะการคลังเกินดุล เงินคงคลังพอกพูน • หลัง Crisis 1997ทำ งปม. ขาดดุลกระตุ้นเศรษฐกิจ 7 ปีต่อเนื่อง
งบประมาณประจำปี เงินกู้โครงการไทยเข้มแข็ง 2555 นโยบายงบประมาณที่ผ่านมา มักเป็นแบบขาดดุลเพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ขณะที่งบประมาณแบบสมดุลมีบ้างในช่วงที่เศรษฐกิจขยายตัวได้ดี ดุลงบประมาณต่อ GDP % GDP EU Criteria - 7.1% ที่มา: เอกสารงบประมาณ หลังวิกฤติ 2540งบประมาณขาดดุล 7 ปีติดต่อกัน ปี 2550-2553 งบประมาณขาดดุลช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ปี 2548-2549 งบประมาณสมดุล (เร็วกว่าที่กำหนดไว้ 3 ปี)
ผลการดำเนินนโยบายการคลังต่อเศรษฐกิจผลการดำเนินนโยบายการคลังต่อเศรษฐกิจ พิจารณาที่ดุลรัฐบาล (Balance) ความตั้งใจ ผลที่เกิดขึ้นจริง ดุลที่เกิดขึ้นจริง ดุลงบประมาณ % of GDP Balance / GDP
รัฐหาเงินจากไหน และใช้จ่ายอย่างไร • งบประมาณรายจ่าย = รายได้ + เงินกู้ • การหารายได้ของรัฐ • การใช้จ่ายของรัฐ • การชดเชยการขาดดุลงบประมาณ / การบริหารสภาพคล่อง • หนี้สาธารณะ
การหารายได้ของรัฐ • รัฐจำเป็นต้องระดมเงินได้จากประชาชน เพื่อให้มีรายได้สำหรับใช้จ่าย จัดสรรสินค้าและบริการสาธารณะให้แก่เศรษฐกิจ • แต่จะกระจายภาระภาษีที่จัดเก็บจากประชาชนได้อย่างไร? • พิจารณาจากหลักในการจัดเก็บภาษี 1. หลักประสิทธิภาพของการจัดเก็บ (Efficiency) • ส่งผลต่อการตัดสินใจของภาคเอกชนเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด (Dead weight loss) • ต้นทุนในการออกแบบและการบริหารการจัดเก็บต่ำ (Less cost) 2. หลักความเป็นธรรม (Equity) • หลักผลโยชน์ที่ได้รับ (Benefit principles) • หลักความสามารถในการจ่าย (Ability to pay principles) • แนวตั้ง (Vertical) • แนวนอน (Horizontal)
รายได้ที่มิใช่ภาษี 10% รายได้จากภาษี 90% สัดส่วนรายได้ในปีงบประมาณ 2552
ประเภทภาษี (แบ่งตามภาระภาษี) • ภาษีทางตรง • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • ภาษีเงินได้นิติบุคคล • ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม • ภาษีทางอ้อม • ภาษีการขายทั่วไป เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม, ภาษีการค้า • ภาษีสรรพสามิต เช่น ภาษียาสูบ, ภาษีน้ำมัน, ภาษีสุรา, ภาษีเบียร์ • อากรนำเข้า – ส่งออก • ภาษีอื่น ๆ เช่น ภาษีทรัพยากรธรรมชาติ
ประเภทภาษี (แบ่งตามฐานภาษี) ภาษีฐานการบริโภคและภาษีฐานรายได้ ร้อยละต่อรายได้รัฐบาลรวม ร้อยละต่อรายได้รัฐบาลรวม CIT VAT PIT ที่มา: กระทรวงการคลัง ภาษีฐานรายได้ทวีความสำคัญขึ้น เพราะ CIT ที่ปรับตัวดีขึ้นเป็นสำคัญ PIT ยังมีบทบาทน้อย ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นแหล่งรายได้สำคัญจากฐานการบริโภค • สัดส่วน PIT / CIT ของไทยต่ำกว่า 1 เท่า • ประเทศ OECD พึ่งพา PIT >CIT 6 เท่า
โครงสร้างรายได้รัฐบาลโครงสร้างรายได้รัฐบาล
ความสามารถในการเก็บรายได้ &ความจำเป็นในการกู้มาใช้จ่ายเพิ่ม วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน วงเงินงบเหลื่อมปี อัตราการเบิกจ่าย อัตราการเบิกจ่าย รายจ่ายจากงบปีปัจจุบัน รายจ่ายจากงบเหลื่อมปี 1 รายจ่ายรัฐบาลกลาง การใช้จ่ายของภาครัฐ 2 เงินกู้จากต่างประเทศ รายจ่ายรัฐบาลท้องถิ่น 3 การลงทุนของรัฐวิสาหกิจ การใช้จ่ายภาครัฐ การใช้จ่ายของภาครัฐไม่ได้มาจากงบประมาณเพียงอย่างเดียว
การจัดทำ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบในการพิจารณาวงเงินงบประมาณ • สำนักงบประมาณแผ่นดิน ( สงป.) • กระทรวงการคลัง ( กค.) • ธนาคารแห่งประเทศไทย ( ธปท.) • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ( สศช.) ตัวแทนจาก 4 หน่วยงานร่วมกันพิจารณา(ก) ประมาณการรายได้ (ข) วงเงินงบประมาณรายจ่าย (ค) วงเงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายและการใช้จ่ายของรัฐบาลการจัดทำงบประมาณรายจ่ายและการใช้จ่ายของรัฐบาล คาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ - GDP growth, inflation rate ประมาณการรายได้ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง - รายได้กำหนดรายจ่าย - ความจำเป็นของการใช้จ่ายรัฐบาลสู่เศรษฐกิจ - ขนาดการขาดดุลงบประมาณที่เหมาะสม และไม่เกิด Crowding-out effect กำหนดนโยบายงบประมาณเกินดุล / สมดุล / ขาดดุล ? 1. Public Debt / GDP < 50% 2. Debt services / Budget < 15%3. Balanced Budget (since FY48)4. Capital Expenditure / Budge > 25% กรอบวงเงินงบประมาณ รายรับ = รายได้ + เงินกู้ = รายจ่าย โครงสร้างงบประมาณ - รายจ่ายประจำ- รายจ่ายลงทุน- รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้
หลักในการพิจารณากำหนดวงเงินงบประมาณหลักในการพิจารณากำหนดวงเงินงบประมาณ ปัจจัยเศรษฐกิจอื่นๆ (Export, Private Investment) วงเงินงบประมาณ การจัดเก็บรายได้ Economic Growth ขาดดุลหรือเกินดุลเท่าใดและเหมาะสมหรือไม่ มาตรการภาษีอากรเพิ่มรายได้ ปรับวงเงินงบประมาณ การแย่งทรัพยากรกับภาคเอกชน(Crowding-out effect) • การชดเชยการขาดดุลงบประมาณ • ผลกระทบต่อเศรษฐกิจต่างกัน • เพดานกำหนดวงเงินกู้ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง(Fiscal Sustainability Framework)
โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายโครงสร้างงบประมาณรายจ่าย
ขั้นตอนการกำหนดงบประมาณรายจ่ายประจำปีขั้นตอนการกำหนดงบประมาณรายจ่ายประจำปี ตั้งเพดานวงเงิน ธ.ค.-ก.พ. กค. สงป. สศช. ธปท. งบประมาณรายจ่าย ร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่าย พรบ. งปม. รายจ่ายประจำปี มิ.ย. สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา ก่อน 1 ต.ค. ร่าง พรบ.งบประมาณในวาระที่ 1 คณะกรรมาธิการ วุฒิสภา พิจารณางบประมาณฯ พิจารณาอนุมัติ ภายใน 15 วัน ร่าง พรบ.ฯ สภาล่างพิจารณาร่าง พรบ. ก.ย. ในวาระที่ 2 และ 3
ขนาดการขาดดุลที่เหมาะสมขนาดการขาดดุลที่เหมาะสม • อาจต้องพิจารณาการขาดดุลที่เกิดขึ้นจริง • มีงบลงทุนเพียงพอต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจและการดำเนินนโยบายของรัฐบาล • ไม่สร้างGoods Market Crowding-out • หนี้สาธารณะอยู่ในวิสัยที่จัดการได้
การขาดดุลที่เกิดขึ้นจริงต่อเศรษฐกิจพิจารณาที่ Primary Balance % of GDP Primary Budget Balance รัฐให้หน่วยราชการอื่น / สง.เฉพาะกิจดำเนินนโยบายแล้วขาดทุน ต้องอุดหนุน แต่ไม่มีงบประมาณ จึงค้างสะสม จนเกิดการล้างหนี้ครั้งใหญ่ในปี 50-51 (กิจกรรมเกิดแล้วในอดีต แล้วค่อยคืนเงิน) รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ม.169 “นำเงินคงคลังไปใช้แล้วต้องตั้ง งปม.รายจ่ายชดใช้ และกำหนดแหล่งที่มาของรายได้เพื่อชดใช้รายจ่ายนี้” Remark: * ใช้ Nominal GDP ที่เกิดขึ้นจริงในการคำนวณ ยกเว้น FY2553 ปรับตาม Forecast ณ ต.ค. 52
การดำเนินนโยบายต้องอยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลังการดำเนินนโยบายต้องอยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กรอบความยั่งยืนทางการคลัง ที่มา: สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง, FY2552 ประมาณการโดยทีมวิเคราะห์การคลัง ธปท. * ตั้งแต่ ก.ค.52 ปรับเพิ่มจาก ร้อยละ 50 เป็น 60
การชดเชยการขาดดุลงบประมาณการชดเชยการขาดดุลงบประมาณ สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้ • การกู้ในประเทศ (Domestic Financing) • การใช้เงินคงคลัง และการพิมพ์ธนบัตร(Treasury Cash and Central Bank) • การกู้ต่างประเทศ (Foreign Financing) • ปัจจุบันกฎหมายไม่อนุญาตให้ชดเชยการขาดดุล โดยพิมพ์ธนบัตรและการกู้ต่างประเทศได้ • แต่การกู้ต่างประเทศเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมยังมีอยู่ภายใต้ พ.ร.บ. หนี้สาธารณะ พ.ศ.2548
รัฐบาลขอกู้จากในประเทศโดยการขายพันธบัตรรัฐบาลรัฐบาลขอกู้จากในประเทศโดยการขายพันธบัตรรัฐบาล G T Deficit Bonds MS AD Y R Import F/X BOP & Reserve C/A
การบริหารสภาพคล่องของรัฐการบริหารสภาพคล่องของรัฐ • รัฐต้องบริหารสภาพคล่อง เมื่อกระแสรายได้ไม่สอดรับกับรายจ่ายโดย • ใช้เงินคงคลัง • กู้ระยะสั้น: ออกตั๋วเงินคลัง / ตั๋วสัญญาใช้เงิน • กู้ระยะยาว: ออกพันธบัตร • รัฐถังแตก??
ฐานะการคลัง = รายได้ - รายจ่าย * Cash basis Source: Comptroller General Department
Patterns การจัดเก็บรายได้รัฐที่สำคัญ รายได้รัฐเข้ามาเป็นฤดูกาล Fiscal Year 2008 Bn Baht Bn Baht
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 การชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทที่มีรอบบัญชีต่างกัน 5M 2M บ.ทั่วไป F 1/2 รัฐวิสาหกิจ F 1/2 บ.ญี่ปุ่น F 1/2
เงินคงคลัง เงินคงคลัง รายรับรัฐบาลไหลเข้า รายจ่ายรัฐบาลไหลออก ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ เงินกู้ อื่นๆ จ่ายตาม พ.ร.บ. งปม. รายจ่าย จ่ายกรณีฉุกเฉินและจำเป็น เงินคงคลังที่ ธปท. เงินสดที่คลังจังหวัด ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์บัตรภาษี เช็คค้างจ่าย
เงินคงคลัง = เงินในกระเป๋าของรัฐบาล จ่าย <รับ ชำระหนี้ก่อนกำหนด เงินคงคลังเพิ่ม เงินคงคลังลด จ่าย >รับ ก่อหนี้เพิ่ม
การใช้จ่ายจากเงินคงคลังการใช้จ่ายจากเงินคงคลัง • มีสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่า งปม. ถูกรัดเข็มขัด ไม่พอใช้จ่าย • มีการใช้จ่ายจากเงินคงคลังในบางรายการ เช่น ค่ารักษาพยาบาล เบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ
ระดับเงินคงคลัง (เงินสด ที่ ธปท. ณ สิ้นเดือน) ล้านบาท (ก.ย. 52) (ก.ย. 51) (ม.ค. 52) (มี.ค. 45) (พ.ย. 49) ที่มา: ธปท.
หนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ (Public Debt) หนี้ที่รัฐบาลกู้สะสมต่อกันมาและมีผลผูกพันทุกรัฐบาลไม่ว่ารัฐบาลใดเป็นผู้ก่อ เป็นภาระของประชาชน เนื่องจากใช้เงินภาษีอากรในการชำระหนี้ หนี้ที่ไม่ใช่หนี้ของรัฐบาลใดรัฐบาลหนึ่งหรือผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ถือเป็นหนี้ของประชาชนทุกคน
หนี้สาธารณะ %GDP ต.ค. 2552 กรอบเป้าหมายที่รัฐบาลกำหนด (ไม่เกินร้อยละ 60 ของ GDP)* 45.8% 0.0% 1.1% 2.4% 12.7% 29.7% ปีงบประมาณ หมายเหตุ: * รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2552 ที่มา: สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
การบริหารหนี้สาธารณะ • สำนักบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เป็นผู้รับผิดชอบ • ในการกำหนดแผนการบริหารหนี้สาธารณะในแต่ละปีงบประมาณ จะพิจารณาถึง • เงินกู้ในประเทศของรัฐบาล(ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ) • การชดเชยความเสียหายให้กองทุนฟื้นฟูระบบสถาบันการเงิน (FIDF) • การเสริมสร้างความมั่นคงให้ระบบสถาบันการเงิน • การจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจ • การก่อหนี้และการบริหารหนี้ต่างประเทศ (รัฐบาล และรัฐวิสาหกิจ) • เป้าหมายการดำเนินงาน คือ ให้มีต้นทุนต่ำที่สุดและรักษากรอบความยั่งยืนทางการคลัง
หัวข้อในวันนี้ • หลักเศรษฐศาสตร์การคลัง • นโยบายการคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจ • นโยบายการคลังของไทย • นโยบายการคลังกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน • ประเด็นด้านการคลัง
ความจำเป็นที่จะต้องใช้นโยบายการคลัง...ความจำเป็นที่จะต้องใช้นโยบายการคลัง... • ทดแทนอุปสงค์ในประเทศที่หดตัว • ข้อจำกัดของนโยบายการเงินที่ต้องใช้เวลา โดยเฉพาะภายใต้ภาวะการเงินโลกที่ผันผวน • นโยบายการคลังให้ผลเร็ว (Timely) โดยเฉพาะด้านรายจ่าย ช่วย boost confidence