1 / 42

การซื้อ/จ้าง ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( e-Auction ) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย...อ.สมยศ สรรพัชญา

การซื้อ/จ้าง ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( e-Auction ) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย...อ.สมยศ สรรพัชญา หัวหน้างานระเบียบพัสดุท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2547

aldis
Download Presentation

การซื้อ/จ้าง ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( e-Auction ) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย...อ.สมยศ สรรพัชญา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การซื้อ/จ้าง ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย...อ.สมยศ สรรพัชญา หัวหน้างานระเบียบพัสดุท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

  2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2547 ข้อ 12 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ. 2538 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2547 ข้อ 12

  3. การซื้อ/จ้าง ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ อปท. • ต้องดำเนินการตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงการคลัง • หนังสือ มท. ที่ มท 0808.2/ว 690 ลว. 7 มี.ค. 48 • ส่งประกาศกระทรวงการคลัง ลว. 13 ม.ค. 48 ถือปฏิบัติ • การซื้อ/จ้างวงเงินเกิน 2 ล้าน ต้อง e-Auction • ยกเว้นวิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและควบคุมงาน • e-Auction ไม่ได้ ก็ไม่ต้อง e-Auction เช่น • ไม่มีกระแสไฟฟ้า • ไม่มีโทรศัพท์ • ไม่มีอินเทอร์เน็ต • ไม่ต้องขอยกเว้นระเบียบ

  4. > กรณี e-Auction แล้วไม่ได้ผล เช่น - ไม่มีตลาดกลางบริการให้ - ไม่มีผู้ค้าซื้อ/หรือรับเอกสาร - ไม่มีผู้ค้ายื่นซองคุณสมบัติ - ไม่มีผู้ผ่านคุณสมบัติ (มีสิทธิประมูล) - มีผู้ผ่านคุณสมบัติเพียงรายเดียว - ผู้ค้าประมูลราคาสูงกว่าวงเงิน> อปท. ต้องดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา

  5. การริบหลักประกันซอง(ต้องระบุในประกาศ/เอกสารและสัญญา 3 ฝ่าย ให้ชัดเจน) 1. ผู้ค้าต้อง Login เข้าในระบบตลาดกลาง 2. ผู้ค้าต้องเสนอราคาอย่างน้อย 1 ครั้ง และราคาที่เสนอต้องต่ำกว่าราคาเริ่มต้น ; ราคาเริ่มต้น 100 บาท ต้องเสนอราคาต่ำกว่า 100 บาท เช่น 99.99 บาท 3. เมื่อสิ้นสุดเวลาประมูล ผู้ค้าต้องยืนยันราคาสุดท้าย และราคา ที่ยืนยันต้องตรงกับราคาที่เสนอในเวลาประมูลครั้งสุดท้าย 4. ผู้ค้าที่ได้รับการคัดเลือกให้มาทำสัญญา แต่ไม่มาทำสัญญา

  6. ข้อเสนอการริบหลักประกันซอง (เพิ่มเติม)(ต้องระบุในประกาศ/เอกสารและสัญญา 3 ฝ่าย ให้ชัดเจน) 1. ผู้ค้าที่ยื่นเอกสารปลอม 2. ผู้ค้าที่มีพฤติการณ์สมยอมราคากัน หรือหลีกเลี่ยง หรือขัดขวาง หรือกีดกันการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม 3. ผู้ค้าที่เสนอราคาผิด เช่น ต้องการเสนอราคา 3,000,000 บาท แต่เสนอราคาเป็น 300,000 บาท หรือเสนอราคาหนึ่งราคาใดแล้วอ้างว่าเสนอราคาผิด ความจริงไม่มีเจตนาจะเสนอราคานั้น เป็นต้น

  7. ข้อสงวนสิทธิเรียกค่าเสียหาย (ต้องระบุในประกาศ/เอกสารและสัญญา 3 ฝ่าย ให้ชัดเจน) 1 . ผู้เสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือกให้มาทำสัญญา แต่ไม่มา ทำสัญญา จะต้องรับผิดชอบค่าเสียหาย เช่น ค่าเสียหายจากการที่ต้องเรียกผู้เสนอราคารายต่ำถัดไปมาทำสัญญา ทำให้ต้องเสียค่าซื้อ/จ้าง สูงขึ้น หรือมีการเสนอราคาใหม่แล้วราคาต่ำสุดมีราคาสูงกว่าเดิม เป็นต้น 2. จุดอ่อนหรือปัญหาที่ อปท. พบบ่อยๆ

  8. ขั้นตอนการซื้อ/จ้าง ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ รายงาน (ข้อ 20) จนท./จพง. พัสดุ ผู้สั่งซื้อ/จ้าง อนุมัติ ยืนยัน แต่งตั้ง ผจก.ประมูล คกก.e-Auction C6 ประธาน C3 2คน ตลาดกลาง (10 แห่ง) คัดเลือกตลาดกลาง ไม่มีหลักเกณฑ์ ประกาศ ฉ.1 www.gprocurement.go.th 7 วันทำการ ประกาศ ฉ.2 ชื่อผู้มีสิทธิประมูล วันประมูล ประกาศ ฉ.3 ผู้ชนะการประมูล เชิญชวนผู้ค้า ชำระค่าบริการ เรียกผู้ค้ามาทำสัญญา ใช้ระเบียบพัสดุฯ

  9. การประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์การประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การประมูลแบบเดิม • ประกาศที่เว็บไซต์ และการปิดประกาศเดิม • เสนอราคาได้ไม่จำกัดครั้ง • เพิ่มความโปร่งใสมากขึ้น • ประมูลได้จากทั่วโลก • ประมูลได้หลากหลายรูปแบบ • เพิ่มโอกาสได้พบผู้ค้ารายใหม่ • สรุปผลการต่อรองราคาได้อย่างรวดเร็ว • ปิดประกาศ • เสนอราคาได้เพียงครั้งเดียว • ไม่เปิดเผยข้อมูลการแข่งขัน • ต้องเดินทางมาติดต่อกัน • มีรูปแบบเดียว • จำกัดอยู่แค่ผู้ค้ารายเดิม • ต้องประกาศราคาทั้งหมดแล้ว ค่อยเรียกเข้ามาต่อรอง เปรียบเทียบการประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ กับการประมูลแบบเดิม

  10. แนวทางและขั้นตอนในการจัดหาพัสดุโดยวิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (1) 1. ประเภทพัสดุ/การจ้าง 2. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาโดยวิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (คณะกรรมการ e-Auction) 3. อำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการ e-Auction 4. การประกาศเชิญชวนผู้ค้าร่วมการประมูลผ่านเว็บไซต์ 5. การคัดเลือกผู้ค้าที่ผ่านข้อเสนอทางเทคนิค

  11. แนวทางและขั้นตอนในการจัดหาพัสดุโดยวิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (2) 6. การคัดเลือกและกำหนดเงื่อนไขในการประมูลผ่านเว็บไซต์ 7. การดำเนินการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 8. การประกาศผลผู้ชนะการประมูล 9. การทำสัญญาจัดซื้อ/จัดจ้าง 10. การตรวจรับพัสดุ/รับงาน

  12. 1. ประเภทพัสดุและการจ้าง • พัสดุ (ครุภัณฑ์ และ วัสดุ ทุกประเภท) • การจ้างทุกประเภท ยกเว้น การ งานจ้างที่ปรึกษา งานจ้างออกแบบ และ ควบคุมงาน การจ้างด้วยวิธีพิเศษ หรือ กรณีพิเศษ

  13. 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการ e-Auction • ให้หัวหน้าหน่วยราชการ เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการ e-Auction • องค์ประกอบของกรรมการ • ข้าราชการระดับ 6 ขึ้นไป เป็นประธาน • ข้าราชการระดับ 3 ขึ้นไปอย่างน้อย 2 คน เป็นกรรมการ

  14. รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางรายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลาง 1 บริษัท พันธวณิช จำกัด โทร 0-2654-1499 2 บริษัท บีส ไดเมนชั่น จำกัด โทร 0-2298-0345 3 บริษัท ดาต้าแมท จำกัด (มหาชน) โทร 0-2310-5211 4 บริษัท ซอฟแวร์ลิ้งค์ จำกัด โทร 0-2612-3517-21 5 บริษัท ฟรีอินเตอร์เน็ท จำกัด โทร 0-2665-9111 6 บริษัท ป๊อป เนทเวอร์ค จำกัด โทร 0-2630-1700 7 บริษัท อินเทลลิเจนท์ โซลูชั่น แอนด์เซอร์วิส จำกัด โทร 0-2831-7299 8 บริษัท นิวตรอน การประมูล จำกัด โทร 0-2635-5200-4 9 บริษัท ไอ ซี เอ็น ซิสเต็ม จำกัด โทร 0-2944-6860-3 10 บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด โทร 0-2614-1333

  15. อัตราค่าบริการ ของผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ คิดค่าบริการจากผู้ค้าที่ชนะการประมูลโดยคิดราคาจากพัสดุ/การจ้าง โดยวิธี e-Auction ตามช่วงราคา • ราคา 2 ล้านบาท – 10 ล้านบาท คิดค่าบริการในอัตราร้อยละ 0.4 แต่ต้องไม่เกิน 10,000 บาท • เกินกว่า 10ล้านบาท – 25 ล้านบาท คิดค่าบริการในอัตราร้อยละ 0.15 แต่ต้องไม่เกิน 20,000 บาท • เกินกว่า 25 ล้านบาท คิดค่าบริการในอัตราร้อยละ 0.1 แต่ต้องไม่เกิน 30,000 บาท • อัตราค่าบริการดังกล่าว รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว

  16. อัตราค่าเดินทางคิดระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ . ไม่เกิน 150 กม. ฟรี .เกิน150 กม. แต่ไม่เกิน 250กม. ไม่เกิน 2,500 บาท .เกิน250 กม. แต่ไม่เกิน 500กม. ไม่เกิน 5,000 บาท .เกิน500 กม. ไม่เกิน 10,000 บาท

  17. 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ e-Auction (2) • ส่ง Spec พัสดุ / งานจ้าง ที่ต้องการจัดหาให้ผู้ให้บริการตลาดกลางฯ พร้อมทั้งกำหนดวัน เวลาที่หน่วยงานต้องการทำประมูล • รอให้ผู้ให้บริการตลาดกลางฯ ยืนยันการจัดประมูลเป็นลายลักษณ์อักษร • จัดเตรียมเอกสารเพื่อดำเนินการ e-Auction เช่น เอกสารยืนยันการประมูลเอกสารยืนยันเงื่อนไขที่ใช้ในการติดตั้งระบบประมูล • เอกสารสรุปราคา เป็นต้น

  18. 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ e-Auction (3) • ประกาศเชิญชวนผู้ค้าเข้าร่วม e-Auction และประกาศผ่านเว็บไซต์ www.gprocurement.go.th • คัดเลือกผู้ค้าที่ส่งข้อเสนอมาทางด้านเทคนิคโดยการคัดเลือกต้องมีจำนวนไม่ต่ำกว่า 2 ราย • ประกาศรายชื่อผู้ค้าที่ผ่านข้อเสนอทางเทคนิค

  19. 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ e-Auction (4) • ติดตามการประมูลในวันประมูล e-Auction จนสิ้นสุดการประมูล • สรุปผลการประมูลเสนอหัวหน้าส่วนราชการ และ ผู้ว่าราชการจังหวัด (ส่วนภูมิภาค) และ เพื่อประกาศผลในเว็บไซต์ • ตรวจสอบความถูกต้องการทำงานของผู้ให้บริการตลาดกลางฯ ก่อนให้ผู้ค้าจ่ายเงินค่าบริการ • กรณีที่มีหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงหรือภายในจังหวัดเดียวกัน จะจัดการประมูล e-Auction ในช่วงเวลาเดียวกัน และมีคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุใกล้เคียงกัน หรือ งานจ้างประเภทเดียวกัน ให้ดำเนินการร่วมกันได้

  20. 4. การประกาศเชิญชวนผู้ค้าร่วมประมูลผ่านเว็บไซต์ • คณะกรรมการ e-Auction จัดทำประกาศเชิญชวนผู้ค้า พร้อมการให้ หรือขายเอกสาร • ประกาศผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน/จังหวัดนั้น • ประกาศผ่านเว็บไซต์ www. gprocurement.go.th • โดยมีระยะเวลาประกาศไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ • คณะกรรมการ e-Auction สามารถเชิญชวนผู้ค้าผ่านทางสื่ออื่นๆ ได้ • ตลาดกลางสามารถช่วยส่งข้อมูลประกาศไปยังผู้ค้าเพิ่มเติมได้

  21. 5. การคัดเลือกผู้ค้าที่ผ่านข้อเสนอทางเทคนิค • ผู้ค้าส่งเอกสารการประมูลให้กับหน่วยงานราชการตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนดไว้ในประกาศเชิญชวน • หน่วยงานจะต้องมีกำหนดช่วงเวลาสำหรับการคำนวนราคาของผู้ประสงค์จะเข้าเสนอราคาหลังปิดการให้หรือการขายเอกสารไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ

  22. 5. การคัดเลือกผู้ค้าที่ผ่านข้อเสนอทางเทคนิค • ตรวจสอบคุณสมบัติและเอกสารต่าง ๆ หนังสือข้อตกลงเข้าร่วมประมูล หลักประกันการประมูลของผู้ค้า เพื่อดำเนินการคัดเลือกผู้ค้า • ในกรณีที่หน่วยงานมีการขึ้นบัญชีผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้นไว้เป็นการประจำ ให้ผู้ค้าแสดงหลักฐานขีดความสามารถและความพร้อมต่างๆ ให้เสร็จสิ้นก่อนดำเนินการประมูล • ประกาศรายชื่อผู้ค้าที่ผ่านคุณสมบัติผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน จังหวัดและ www.gprocurement.go.th

  23. 3 5 4 2 1 ผู้ให้บริการตลาดกลางฯ • อบรมผู้ขาย • ร่วมกำหนด เงื่อนไขประมูล • จัดเตรียมเอกสารการประมูล สรุปงานก่อนการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) เสนอซองคุณสมบัติ/ เทคนิค ส่วนราชการผู้ซื้อ ผู้ขาย ประกาศผู้ผ่านคุณสมบัติ • ตั้งคณะกรรมการจัดหาฯ • จัดทำ TOR • วางแผนจัดซื้อ • ประกาศจัดซื้อจัดจ้างฯ • กำหนดและคัดเลือกผู้ขายที่มีคุณสมบัติทางเทคนิค • เตรียมเสนอ คุณสมบัติและราคาของสินค้า/บริการที่ต้องการจะขาย ลงทะเบียนเมื่อ เป็นผู้ผ่านคุณสมบัติ คัดเลือกผู้ให้บริการ ตลาดกลางฯ เตรียมเสนอราคา e-Auction

  24. 6. การกำหนดเงื่อนไขในการจัดประมูล e-Auction (1) • กำหนดรูปแบบการประมูล สามารถกำหนดได้ 2 รูปแบบ คือ • (1) แบบแข่งขันเปิดราคา (English Reverse Auction) เป็นการประมูลที่ผู้ค้าสามารถทราบสถานะของการแข่งขันเสนอราคาตลอดการประมูล โดยไม่ทราบรายละเอียดของผู้เข้าร่วมประมูลแต่ละราย โดยการประมูลเป็นการแข่งขันลดราคาแบบมีเงื่อนไขที่ได้มีการตกลงกันอย่างชัดเจนระหว่างทุกฝ่ายเที่เกี่ยวข้อง

  25. 6. การกำหนดเงื่อนไขในการจัดประมูล e-Auction (2) (2) แบบประมูลปิดราคา (Sealed Bids Auction) เป็นการประมูลที่ผู้ค้าสามารถไม่ทราบสถานะโดยเฉพาะราคาต่ำสุดของผู้เข้าร่วมประมูล โดยสามารถกำหนดให้ยื่นข้อเสนอแข่งราคาได้ครั้งเดียว หรือ หลายครั้ง ภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยไม่มีการต่อเวลา

  26. 6. การกำหนดเงื่อนไขในการจัดประมูล e-Auction (3) • กำหนดวงเงินเริ่มต้นในการประมูลโดยใช้วงเงินงบประมาณที่ได้รับในการจัดหาพัสดุ/การจ้างนั้นๆ หรือ ราคากลางต่อหน่วยสินค้า (อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นอยู่กับราคาใดที่ต่ำกว่า) • กำหนดระยะเวลาในการประมูลไม่ควรเกิน 1 ชั่วโมง (ไม่รวมการขยายต่อเวลาก่อนการปิดประมูล (ถ้ามี))

  27. 6. การกำหนดเงื่อนไขในการจัดประมูล e-Auction (4) • กรณีที่มีผู้ค้าที่มีคุณสมบัติไม่น้อยกว่า 3 ราย ให้คณะกรรมการหารือกับผู้ให้บริการตลาดกลาง ในการกำหนดรูปแบบการดำเนินการประมูล e-Auction ที่เหมาะสมกับการจัดซื้อจัดจ้างครั้งนั้น • กรณีที่มีผู้ค้ามีคุณสมบัติ จำนวน 2 ราย ให้ดำเนินการประมูล e-Auction แบบปิดราคา (Sealed Bids Auction) หรือให้ผู้ค้ายื่นซองข้อเสนอราคาภายในวงเงินงบประมาณ หรือ ราคาเริ่มต้นการประมูล หรือ ราคากลางของทางราชการแล้วแต่กรณี • กรณีที่มีผู้ค้ามีคุณสมบัติรายเดียว หรือ กรณีดำเนินการตามวรรค 2 แล้วมีผู้เสนอราคาเพียงรายเดียว โดยปกติให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานยกเลิกการประมูล แต่ถ้าคณะกรรมการ e-Auction เห็นว่า มีเหตุสมควรที่จะดำเนินต่อไปโดยไม่ต้องยกเลิกการประมูล ก็ให้ดำเนินการต่อไปได้โดยอนุโลม

  28. 6. การกำหนดเงื่อนไขในการจัดประมูล e-Auction (5) • แจ้งผู้ค้าที่ผ่านคุณสมบัติ เพื่อชี้แจงข้อกำหนด รายละเอียด วิธีการ ค่าใช้จ่าย และเงื่อนไข • หน่วยงานราชการ และผู้ให้บริการตลาดกลางฯ จัด ฝึกอบรมผู้ค้าที่ผ่านข้อเสนอทางเทคนิค เกี่ยวกับการจัดหา e-Auction • จนคล่องสามารถเข้าร่วมดำเนินการได้ • ผู้ให้บริการตลาดกลางฯ ให้ User ID และ Passwordแก่ผู้ค้าที่ผ่านคุณสมบัติ

  29. 7. การดำเนินการประมูล e-Auction (1) • ผู้ให้บริการตลาดกลางฯ ดำเนินการจัดประมูลในวันประมูล พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ On-line มาให้คณะกรรมการ e-Auction ติดตามผล ณ หน่วยงานราชการ/สำนักงานจังหวัด/ สถานที่กลาง** ตลอดระยะเวลาการประมูล และต้องเป็นระบบ Real Time • สถานที่กลาง ** ตามแนวปฏิบัติในการกำกับดูแลการเผยแพร่ข่าวสารการประกวดราคา เพื่อเสริมมาตรการป้องกันหรือลดโอกาสในการสมยอมในการเสนอราคา

  30. 7. การดำเนินการประมูล e-Auction (2) • คณะกรรมการ e-Auction ต้องทำหน้าที่สังเกตการจนเสร็จสิ้นการประมูล (รวมทั้งประธานคณะกรรมการฯ) • ในระหว่างการประมูล ผู้ร่วมสังเกตการณ์ ห้ามออกจากห้องคณะกรรมการ e-Auction และต้องไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้ร่วมประมูล • ผู้ที่อยู่ในห้องกรรมการ e-Auction ต้องปิดเครื่องมือสื่อสารต่างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ ยกเว้นโทรศัพท์ที่ใช้ติดต่อกับที่ทำการตลาดกลาง/ศูนย์การประมูล (Auction Center) จังหวัด ที่ควรมีการอัดเทปการสนทนา

  31. 7. การดำเนินการประมูล e-Auction (3) • หากการประมูลมีความผิดปกติให้คณะกรรมการ e-Auction • ยกเลิกการประมูลแล้วจัดการประมูลใหม่ ด้วยเงื่อนไขเดิม และสามารถสงวนสิทธิ์ห้ามผู้ค้าที่เป็นเหตุเข้าร่วมประมูลใหม่ได้ และต้องมีการทำบันทึกรายงานเหตุผลไว้เป็นหลักฐาน • การจัดประมูลใหม่ สามารถจัดทำต่อได้ทันที หรือ นัดหมายวันเวลาใหม่ได้ ตามความเหมาะสม

  32. ตารางเปรียบเทียบการประมูลแบบเปิดราคาและปิดราคา (1)

  33. ตารางเปรียบเทียบการประมูลแบบเปิดราคาและปิดราคา (2) ข้อแนะนำ – ควรเสนอราคาแบบปิดราคา เพื่อสอดคล้องกับทางราชการ

  34. ตัวอย่างหน้าจอภาพการประมูล e-Auction ของคณะกรรมการ e-Auction รายละเอียดเกี่ยวกับการจัดประมูล วันและเวลาระหว่างประมูล ตลาดกลางแต่ละแห่งจะมีหน้าจอภาพไม่เหมือนกัน แต่ต้องปรากฏสาระครบถ้านเหมือนกัน ประเภทพัสดุที่จัดประมูล รายชื่อผู้ค้า ที่เข้าร่วมประมูล เวลาที่ผู้ค้าเสนอราคาประมูล กราฟแสดงจำนวนครั้งในการเสนอราคา กราฟแสดงมูลค่าในการเสนอราคาราคา

  35. ตัวอย่างหน้าจอภาพการประมูล e-Auction ของผู้เข้าร่วมประมูล วันและเวลาระหว่างประมูล ข้อมูลประมูลที่ได้ประมูลเฉพาะผู้ค้านั้นรายเดียว ตลาดกลางแต่ละแห่งจะมีหน้าจอภาพไม่เหมือนกัน แต่ต้องปรากฏสาระครบถ้านเหมือนกัน สถานะ ของผู้ประมูล ชนะ/ไม่ชนะ บริเวณใส่ราคาแข่งขัน

  36. กราฟแสดงเปรียบเทียบราคาการประมูลโดยทั่วไปกราฟแสดงเปรียบเทียบราคาการประมูลโดยทั่วไป วงเงินงบประมาณ ราคาประเมิน ราคาที่ชนะการประมูล

  37. 8. การประกาศผลผู้ชนะการประมูล (1) • คณะกรรมการ e-Auction สรุปผลการประมูลเสนอหัวหน้าส่วนราชการที่มีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง/ผู้ว่าราชการจังหวัด และประกาศผลผู้ชนะการประมูลทางเว็บไซต์ www.gprocurement.go.th • คณะกรรมการ e-Auction รายงานผลการประมูล e-Auction ทุกราย ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (email) แก่กรมบัญชีกลาง (สมพ.) opm@cgd.go.th โดยรายงานดังกล่าว ประกอบด้วยราคาพัสดุ/การจ้าง ที่จัดหาได้ด้วยวิธี e-Auction ส่วนลด/เพิ่มเพื่อเปรียบเทียบกับวงเงินงบประมาณ งบประมาณที่ประหยัดได้ ผู้ชนะการประมูล ผู้ให้บริการตลาดกลาง

  38. 8. การประกาศผลผู้ชนะการประมูล (2) • แจ้งผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ออกเอกสารเรียกเก็บอัตราค่าบริการจัดประมูล โดยผู้ให้บริการตลาดกลางฯ จะต้องส่งตัวเลขค่าธรรมเนียมให้แก่คณะกรรมการ • e-Auction เพื่อตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะส่งใบเรียกเก็บเงิน

  39. 9. การทำสัญญาจัดซื้อ / จัดจ้าง • ให้ดำเนินการทำสัญญาตามตัวอย่างที่คณะกรรมการ • ว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) กำหนดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี • ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้ผู้ค้าที่ชนะการประมูลทำสัญญากับหน่วยงาน/จังหวัดได้โดยตรง

  40. 10. การตรวจรับพัสดุ (1) • ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • กำหนดให้การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะต้องประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอย่างน้อย 2 คน โดยจะต้องแต่งตั้งจากข้าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป

  41. 10. การตรวจรับพัสดุ (2) • การตรวจรับพัสดุต้องตรวจรับ ณ ที่ทำการของผู้จัดหาพัสดุ หรือสถานที่ซึ่งกำหนดไว้ตามสัญญา • คณะกรรมการตรวจรับจะต้องทำการตรวจรับโดยมีมติเป็นเอกฉันท์และแล้วรายงานให้หัวหน้าส่วนราชการ/ผู้ว่าราชการจังหวัด

  42. สรุปภาพรวมกระบวนการประมูลสรุปภาพรวมกระบวนการประมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) หน่วยงานผู้ซื้อ ตลาดกลางฯ ผู้ขาย ก่อนวันประมูล ก่อนวันประมูล - กำหนดคุณสมบัติพัสดุ และแต่งตั้งคณะกรรมการ - ประกาศข่าวการจัดซื้อจัดจ้าง - คัดเลือกตลาดกลางฯ - เข้ารับการฝึกอบรม - เข้าร่วมสังเกตการณ์ - ตัดสินและคัดเลือกผู้ชนะ - ประกาศผลการประมูล - ทำสัญญาซื้อ - ขาย - ชำระเงินให้กับผู้ขาย - ตอบรับการให้บริการ - สรรหาผู้ค้าเพิ่มเติม - ลงทะเบียนผู้ค้าและดำเนิน การฝึกอบรม - ดำเนินการประมูล - รายงานสรุปผลการประมูล - รับทราบการทำสัญญา - ยื่นซองตามวันและเวลา ที่กำหนด - เข้ารับการฝึกอบรม - เข้าร่วมเสนอราคา - ยืนยันราคา - ทำสัญญาซื้อ - ขาย - ชำระค่าบริการแก่ตลาดฯ - ส่งมอบพัสดุตามกำหนด วันประมูล วันประมูล หลังวันประมูล หลังวันประมูล

More Related