560 likes | 1.27k Views
แรงงานต่างด้าว (Migrant Workers). เรือเอกนายแพทย์อติพงษ์ สุจิรัตน์ แพทย์ประจำบ้านอาชีวเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. dr_atipong@hotmail.com. เนื้อหา. แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง. แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. ความเสี่ยงและปัญหาของแรงงานต่างด้าว.
E N D
แรงงานต่างด้าว(Migrant Workers) เรือเอกนายแพทย์อติพงษ์ สุจิรัตน์ แพทย์ประจำบ้านอาชีวเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ dr_atipong@hotmail.com
เนื้อหา แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย ความเสี่ยงและปัญหาของแรงงานต่างด้าว การเข้าถึงบริการทางสุขภาพของแรงงานต่างด้าว
แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติแรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ • Migrant workers are a key sector of the work force throughout the world • Migrant working population = mismatch between job availability and worker location • Within-country migration ; result of urbanization and industrialization • 35 million people migration / year • 125 million people live outside of their country of origin • Migrant workers ≠ Refugees
แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติแรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ Adverse health effects • New infectious diseases • Thai & Brazil : Malaria • USA : Tuberculosis, parasitic & other infectious diarrhea and hepatitis A • Western Europe : Tuberculosis (Extrapulmonary) • Psychological and other stressors : Urbanization, life-style changes • Increase average blood pressure • Increase cardiovascular mortality • Inadequate follow-up for both infectious and chronic diseases
แรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติแรงงานต่างด้าวในระดับนานาชาติ Adverse health effects • Children • Low rate of immunization • Poor diets • Women • Low rate of prenatal screening • Low rate of Pap smear screening • Men • Alcohol abuse • Sexual transmitted diseases • Violence
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2521 • พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่2) พ.ศ. 2544
พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าวพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว • มาตรา 5 “คนต่างด้าว” หมายความว่า บุคคลธรรมดาซึ่งไม่มีสัญชาติไทย “ทำงาน” หมายความว่า การทำงานโดยใช้กำลังกายหรือ ความรู้ด้วยประสงค์ค่าจ้างหรือประโยชน์อื่นใด หรือไม่ก็ตาม
พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าวพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว • ประเภทของคนต่างด้าว ประเภทตลอดชีพ คนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมาย ประเภทชั่วคราว ประเภทส่งเสริมการลงทุน ชนกลุ่มน้อย คนต่างด้าวที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย สัญชาติพม่า ลาว กัมพูชา
คนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมายคนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมาย ประเภทตลอดชีพ • คนต่างด้าวที่ได้รับใบอนุญาตทำงานที่มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองและทำงานอยู่แล้วก่อนวันที่ 13 ธันวาคม 2515 เท่านั้น
คนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมายคนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมาย ประเภทชั่วคราว • คนต่างด้าวที่มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร หรือได้รับอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว(Non-Immigrant Visa) ตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองมาตรา 7โดยมิใช่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาในฐานะนักท่องเที่ยวหรือผู้เดินทางผ่าน
คนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมายคนต่างด้าวที่เข้าเมืองถูกกฎหมาย ประเภทส่งเสริมการลงทุน • คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนหรือตามกฎหมายอื่นที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับคนต่างด้าวในลักษณะเดียวกัน ตามมาตรา 10ได้แก่ • พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 • พระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2514 • พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522
คนต่างด้าวที่เข้าเมืองผิดกฎหมายคนต่างด้าวที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย • มาตรา 12 (1) คนต่างด้าวที่ถูกเนรเทศตามกฎหมายว่าด้วยการเนรเทศ (2) คนต่างด้าวที่เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง และอยู่ในระหว่างการส่งกลับออกนอกราชอาณาจักร แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ชนกลุ่มน้อยบนพื้นที่สูง และคนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่ได้รับการผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ คนต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา (3) คนต่างด้าวที่เกิดในราชอาณาจักรแต่ไม่ได้รับสัญชาติไทย (4) คนต่างด้าวโดยผลของการถูกถอนสัญชาติ
อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้ • คนต่างด้าวประเภทมาตรา 12:(1),(2-ชนกลุ่มน้อย),(3),(4) ทำงานได้ 27 อาชีพ • งานช่างย้อมผ้า • งานช่างตัดเย็บเสื้อผ้า ยกเว้น เสื้อสตรี • งานซักรีดเสื้อผ้า • งานทำสวนผักและผลไม้ • งานเลี้ยงสัตว์ ยกเว้น งานเลี้ยงไหม • งานขายปลีกสินค้าที่มิใช่เวชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ กล้องถ่ายภาพนิ่ง กล้องถ่ายภาพยนตร์ อาวุธปืนหรือวัตถุระเบิด และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเครื่องอะไหล่ • งานขายอาหารหรือเครื่องดื่ม • งานผลิตอาหารหรือเครื่องดื่ม • งานช่างซ่อมจักรยาน • งานช่างประกอบและซ่อมเบาะรถ • งานช่างประกอบและซ่อมตัวถัง • งานช่างประกอบและซ่อมท่อไอเสีย • งานบัดกรีโลหะแผ่นด้วยมือ • งานช่างไม้เครื่องเรือน • งานช่างไม้ก่อสร้างอาคาร • งานเลื่อยไม้ในงานแปรรูปไม้ • งานช่างปูน • งานช่างทาสี • งานช่างประกอบและซ่อมประตูหน้าต่าง • งานช่างติดตั้งมุ้งลวด
อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้ • คนต่างด้าวประเภทมาตรา 12:(1),(2-ชนกลุ่มน้อย),(3),(4) ทำงานได้ 27 อาชีพ (ต่อ) • งานช่างประกอบและซ่อมรองเท้า • งานช่างซ่อมนาฬิกา ปากกา และแว่นตา • งานช่างลับมีด และของมีคมอื่นๆ • งานช่างทำกรอบรูป • งานช่างเครื่องทอง เครื่องเงิน หรือเครื่องโลหะมีค่าอื่นๆ • งานช่างทอถักไหมพรมและทอผ้าด้วยมือ ยกเว้น งานทอผ้าไหมและงานทำผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเส้นไหม • งานกรรมกร
อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้อาชีพที่คนต่างด้าวสามารถทำงานได้ • คนต่างด้าวประเภทมาตรา 12: (2-คนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา) อนุญาตให้ทำงานได้ใน 2 อาชีพ คือ 1. งานรับใช้ในบ้าน 2. งานกรรมกร
2536 2542 2538 เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เริ่มลดลง เพิ่มอย่างรวดเร็ว 30,000 คน 700,000 คน 664,000 คน ลำดับเหตุการณ์แรงงานต่างด้าวในไทย 2532 พายุเกย์ 2540 วิกฤตเศรษฐกิจ (ประมาณ 1 ล้านคน) จดทะเบียน แรงงานข้ามชาติ 2547 2550 ขึ้นทะเบียน ปัจจุบัน 1,284,920 คน อาจถึง 2 ล้านคน
แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย
แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย
แรงงานจากประเทศพม่า • ระยะแรกเริ่มจากงานประมง เนื่องจากชาวพม่ามีพื้นฐานการดำรงชีวิตและทำงานประมงได้เป็นอย่างดี ต่อมาอพยพเข้ามาในเขตภาคกลาง(งานด้านเกษตรกรรม) และภาคตะวันออก(งานร้านอาหาร) • แรงงานชาวพม่าในแถบภาคเหนือมักทำงานรับจ้างอิสระ(บางส่วนเดินทางไปกลับ), แรงงานสตรีมักทำงานรับใช้ตามบ้านในพื้นที่ภาคตะวันตก และกรุงเทพฯ • โรงงานอาหารทะเลแช่แข็ง • สวนยางพารา • ลูกเรือประมง • สวนกาแฟ สวนปาล์ม ไร่อ้อย • โรงงานปลาป่น • กรรมกรก่อสร้าง • เลี้ยงกุ้ง • เลี้ยงสุกร • โรงงานทำโอ่ง และทำอิฐ • งานรับใช้ในบ้าน • งานบริการตามร้านอาหาร • ขายปลีกหน้าร้าน • งานเจียระไนอัญมณี • งานในห้องเย็น • งานในเหมืองแร่ และเหมืองหิน • โรงงานรองเท้ากีฬา
แรงงานจากประเทศกัมพูชาแรงงานจากประเทศกัมพูชา • ระยะแรกเป็นแรงงานจากค่ายผู้อพยพลี้ภัย หลบหนีเข้ามาหางานทำแล้วกลับเข้าไปอยู่ในค่ายเป็นครั้งคราว • บางคนอาศัยอยู่บริเวณชายแดน หรือมีสองสัญชาติเพราะมีญาติพี่น้องอยู่ทั้งฝั่งไทยและกัมพูชา • เนื่องจากแรงงานชาวกัมพูชาส่วนใหญ่ต้องเผชิญภาวะสงครามมานาน จึงไม่ค่อยเลือกงานมากนัก งานส่วนใหญ่จึงใช้แรงกาย และอยู่ในพื้นที่สกปรก • ลูกเรือประมง • ขนถ่ายสินค้าทางน้ำ • กรรมกรก่อสร้าง • เลี้ยงไก่ • โรงงานอุตสาหกรรมอาหารทะเล • โรงสีข้าว • งานรับใช้ในบ้าน • งานบริการตามร้านอาหาร • สวนยางพารา สวนผลไม้ สวนผัก
แรงงานจากประเทศลาว • มีจำนวนไม่มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาทางการเมืองเหมือนพม่าหรือกัมพูชา แต่ส่วนหนึ่งเข้ามาประเทศไทยเนื่องจากได้รับข่าวสารทางวิทยุและโทรทัศน์จึงต้องการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวโดยอาศัยวิธีการลักลอบเข้ามาทำงานด้วย • แรงงานชาวลาวสามารถสื่อสารภาษาไทยได้ดีจึงทำให้แยกแยะกับคนไทยได้ยาก แรงงานมักทำอาชีพในจังหวัดชายแดนภาคเหนือ(งานรับจ้างทำสวน) และภาคอีสาน(งานโรงงาน และงานรับใช้ในบ้าน) • ลูกเรือประมง • งานสวนผัก ผลไม้ • งานในโรงงานอุตสาหกรรม • งานรับใช้ในบ้าน
แรงงานจากประเทศบังคลาเทศ อินเดีย และปากีสถาน • ส่วนใหญ่เป็นแรงงานที่เคยเข้ามาทำงานในประเทศไทย • แรงงานจากบังคลาเทศมักทำงานเป็นลูกเรือประมงมาก่อน ส่วนแรงงานอินเดียและปากีสถานมักทำงานตามร้านขายเครื่องจักร และอุปกรณ์ในย่านคลองถม กรุงเทพฯ บางส่วนเข้ามาขายอาหารรถเข็น • มักเข้ามาทำงานแบบเป็นครอบครัว แตกต่างจากประเทศอื่นที่มักเข้ามาตัวคนเดียว • กรรมกรในร้านขายเครื่องจักร • ลูกเรือประมง • อู่ต่อเรือ • ยามเฝ้าโกดังสินค้า • ขายอาหารแบบรถเข็น
แรงงานจากประเทศจีนตอนใต้แรงงานจากประเทศจีนตอนใต้ • เข้ามาทำงานในอาชีพบริการมากกว่าแรงงานประเทศอื่น และแรงงานบางส่วนถูกหลอกลวงมาจากนายหน้าหางานในประเทศจีน • มักเป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และทำงานในแถบจังหวัดที่มีการใช้ภาษาจีนมาก เช่น ในภาคใต้ และกรุงเทพฯ • แรงงานประเทศนี้ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานได้เหมือนแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านของไทย แต่เนื่องจากรูปร่างหน้าตาใกล้เคียงคนไทย จึงทำให้ยากแก่การตรวจสอบ • นักร้อง และพนักงานบริการในร้านอาหาร • ขายของหน้าร้านค้าปลีก
เหตุจูงใจแรงงานต่างด้าวเหตุจูงใจแรงงานต่างด้าว • ความแตกต่างในด้านความเจริญทางเศรษฐกิจทางด้านวัตถุ • ความแตกต่างของระดับค่าจ้างแรงงาน • ปัญหาการสู้รบบริเวณชายแดน • ความไม่สมดุลย์ระหว่างอุปสงค์และอุปทานของแรงงานในอุตสาหกรรมการผลิตบางประเภทของไทย • อิทธิพลของสื่อมวลชนทางโทรทัศน์และวิทยุ • เจ้าหน้าที่ของไทยบริเวณชายแดนมีไม่เพียงพอ • ขาดรั้วป้องกันชายแดน
ผลดีในการใช้แรงงานต่างด้าวผลดีในการใช้แรงงานต่างด้าว ไม่เลือกงานทำให้นายจ้างชอบ ต้นทุนการผลิตต่ำ ผลดี บรรเทาการขาดแคลนแรงงานในบางกิจการ
ผลเสียในการใช้แรงงานต่างด้าวผลเสียในการใช้แรงงานต่างด้าว การแย่งใช้สาธารณูปโภค การแย่งงานคนไทย ปัญหาด้านความมั่นคง ปัญหาด้านสาธารณสุข ผลเสีย ต่างชาติอาจใช้เป็นข้อกีดกันทางการค้า ปัญหาทางสังคม
ปัญหาด้านสาธารณสุข • แรงงานต่างด้าวเป็นพาหะนำโรคต่างๆ เช่น • โรคเท้าช้าง • โรคมาเลเรีย • โรคเอดส์ • วัณโรค • เสียงบประมาณในการป้องกันและรักษาโรคเพิ่มขึ้น • ปัญหาจากการเข้าไม่ถึงบริการทางสุขภาพของแรงงานต่างด้าวและครอบครัวของแรงงานต่างด้าว • ปัญหาความเสี่ยงของโรคและอุบัติเหตุจากการทำงาน และการไม่มีกองทุนหรือสวัสดิการในกลุ่มแรงงานต่างด้าว
ความเสี่ยงของแรงงานต่างด้าวความเสี่ยงของแรงงานต่างด้าว เสียสุขภาพ เสี่ยงอันตราย 4 ส. สกปรก เสียอิสรภาพ
การเข้าถึงบริการทางสุขภาพของแรงงานต่างด้าวการเข้าถึงบริการทางสุขภาพของแรงงานต่างด้าว • Pimonpan Isarabhakdi (Mahidol University) • Meeting at the Crossroads: Myanmar Migrants and Their Use of Thai Health Care Services • Asian and Pacific Migration Journal, Vol. 13, No. 1, 2004 • This study assesses the use of health services among cross-border migrants from Myanmar who are now living in Kanchanaburi Province. • 3 main ethnic group : Burmese, Karen and Mon • Quantitative and qualitative data
สรุปสาเหตุของการจำกัดการเข้าถึงบริการทางสุขภาพสรุปสาเหตุของการจำกัดการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ • ภาษา • ความเชื่อในการเกิดโรค และการรักษาโรค • ความห่างไกลของที่อยู่อาศัย • ค่าใช้จ่ายในการรักษา (ทั้งทางตรง และทางอ้อม) • การเปิดให้บริการ ไม่สอดคล้องกับช่วงเวลาทำงานของแรงงานต่างด้าว
ความสามารถในการเข้าถึงบริการทางสุขภาพความสามารถในการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ องค์ประกอบ 4 ประการ คือ • การปลอดจากการเลือกปฏิบัติ • การเข้าถึงทางกายภาพ • การเข้าถึงทางเศรษฐกิจ • การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
การเข้าถึงบริการสุขภาพการเข้าถึงบริการสุขภาพ ในแรงงานต่างด้าว เพิ่มผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เคารพสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างด้าว ป้องกันการเกิดโรคระบาด ลดปัญหาในภาพรวมอื่นๆ ประโยชน์ในการแก้ปัญหาการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ
แนวทางในการแก้ปัญหาในปัจจุบันแนวทางในการแก้ปัญหาในปัจจุบัน • ล่ามภาษา • พนักงานสาธารณสุขต่างด้าว (พสต.) • อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (อสต.) • ล่ามแรงงานต่างด้าว ของ NGO • การเพิ่มช่องทางสื่อสารทางสาธารณสุข • การดูแลผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม • การทำ Family folder • บัตรประกันสุขภาพของคนต่างด้าว • การจัดบริการอาชีวอนามัย สำหรับกลุ่มแรงงานต่างด้าว
Thank You ! dr_atipong@hotmail.com