140 likes | 328 Views
วิสัยทัศน์โรคติดต่อนำโดยแมลง 2018. นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ. ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยที่กำหนดชีวภาพ ประเทศเกาะในมหาสมุทรเริ่มถูกลบจากแผนที่
E N D
วิสัยทัศน์โรคติดต่อนำโดยแมลง 2018 นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ • ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยที่กำหนดชีวภาพ • ประเทศเกาะในมหาสมุทรเริ่มถูกลบจากแผนที่ • ในประเทศเมืองหนาวน้ำแข็งจากขั้วโลกละลายลงมาทำให้กระแสน้ำอุ่นใกล้ขั้วโลกเย็นลงฉับพลันทำให้ประเทศในยุโรปเหนืออุณหภูมิลดลง ส่ • ในบริเวณเส้นศูนย์สูตรอากาศร้อนขึ้นและแปรปรวนมากขึ้น พายุประจำถิ่นต่าง ๆ รุนแรงกว่าทศวรรษที่แล้วอย่างชัดเจน • ฝนตกห่างลงแต่ตกหนักขึ้นทำให้เกิดภาวะภัยแล้งสลับกับน้ำท่วมครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของโลก
สมุทรสาคร แนวหินทิ้งของเขตบางขุนเทียน นากุ้งเขตบางขุนเทียน คลองขุนราชพินิจใจ สมุทรปราการ 30-10-2007 ดร.จิรพล สินธุนาวา 4
โคลนถล่ม น้ำท่วมฉับพลัน
2002 Andhra Pradesh, India heat wave, with temperatures of up to 54 degrees Celsius, took a toll of at least 1400 lives Heat waves www.cbc.ca
สถานการณ์โรคติดต่อนำโดยแมลงในช่วง 10 ปีหน้า • ไข้เลือดออกยังคงสูงขึ้น และระบาดในวงกว้างมากขึ้นตามความเจริญของเขตเมืองและการคมนาคม • มาลาเรียจะกลับมาระบาดในพื้นที่ B1มากขึ้น ทำให้มี พื้นที่ A1 และA2 มากขึ้น การระบาดจะเกิดขึ้นแบบคลื่นใต้น้ำ โดยเฉพาะ แหล่งท่องเที่ยวและพื้นที่ที่จ้างแรงงานต่างชาติ • โรคเท้าช้างในจังหวัดนราธิวาสและชายแดนจังหวัดตากยังคงมีอยู่ และมีระยะไมโครฟิลาเรียมากขึ้น อาจมีการระบาดจากต่างด้าวสู่คนไทยโดยเฉพาะในจังหวัดระนอง สมุทรสาคร
Scrub Typhus มีการรายงานมากขึ้นเนื่องจากการวินิจฉัยดีขึ้นมีการบุกรุกที่อยู่ของหนูป่ามากขึ้น • โรคนำโดยแมลงอุบัติใหม่ที่เข้ามากับแรงงานต่างชาติ เช่น ลิชมาเนีย นำโดย ริ้นฝอยทราย • โรคอุบัติใหม่อาจจะเข้ามาโดยมีสัตว์เป็นรังโรคเช่น นก สัตว์ป่า เช่น West Nile fever Russian Crimian fever และ Rift Velley feverและนำโดยยุงรำคาญ เห็บ เป็นต้น
ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ • ปัจจัยเสี่ยงของไทย • นกอพยพย้ายถิ่น • นกนำเข้าจาก ตปท. • ยุง ที่มากับเครื่องบินหรือเรือจากพื้นที่เสี่ยง • นกและยุงในประเทศ
LeishmaniasisGeographic distribution Major epidemic of VL ; Bangladesh, Brazil, India, Nepal, and Sudan
บทบาทขององค์กร • การปรับโครงสร้างหน่วยงานส่วนกลางให้เล็กลง • หน่วยงานส่วนกลางในภูมิภาคต้องมีหน้าที่เด่นชัด เป็นงานที่ท้องถิ่นหรือหน่วยงานระดับภูมิภาคดำเนินการไม่ได้ หรือเป็นการดำเนินการที่ครอบคลุมหลายพื้นที่ • มีการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมากขึ้น • การบริการขั้นพื้นฐานเช่น ระบบบริการสาธารณสุขระดับสถานีอนามัย โรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษาเข้าสู่การบริหารโดยท้องถิ่น • ท้องถิ่นมีบทบาทในการป้องกันควบคุมโรคมากขึ้น
การจัดการด้านกำลังคน • บุคลากรทดแทนโดยพนักงานของรัฐ • การควบคุมโรคจะเป็นลักษณะจ้างเหมาหรือใช้ลูกจ้างชั่วคราว • เอกชนจะมีส่วนในการป้องกันและควบคุมโรคมากขึ้น เช่น อบต.วิชิตจ้างเหมาให้เอกชนฉีดพ่นสารเคมีควบคุมไข้มาลาเรีย เป็นต้น • การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรเช่น การประเมิน ความสามารถส่วนบุคคล ประสิทธิผลการทำงาน เป็นต้น • การใช้เทคโนโลยีทดแทนกำลังคนมากขึ้น • การทำงานเชิงพื้นที่จะมีข้อจำกัดมากขึ้น เนื่องจากการวางแผนจะเน้นการทำงานในสำนักงานมากกว่าในพื้นที่
การพัฒนางาน • วางแผนด้านพัฒนากำลังคน • สร้างค่านิยมการพัฒนาตน อย่างต่อเนื่อง สนับสนุนการเรียนรู้ทุกรูปแบบ • เครือข่ายในพื้นที่จะต้องประสานและจัดการให้มีส่วนร่วม จัดสรรงบประมาณร่วมด้วย • พัฒนาเครือข่าย สร้างความสัมพันธ์ ในฐานะแกนนำและที่ปรึกษา
การพัฒนางานวิชาการ • การจัดการความรู้ด้านการควบคุมการระบาดของไข้มาลาเรีย ไข้เลือดออก • มาตรฐานการควบคุมการระบาด การปฏิบัติงานภาคสนาม เป็นต้น • การจัดตั้งศูนย์ศึกษาและอ้างอิงด้านพาหะนำโรค • การจัดตั้งTraining center เพื่อพัฒนาเครือข่ายและการถ่ายโอนภารกิจ • การเฝ้าระวังพิเศษเช่น การเฝ้าระวังการดื้อยา การดื้อสารเคมี ประสิทธิภาพของการพ่นเคมี เป็นต้น