350 likes | 401 Views
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา. รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ . 25-26 ตุลาคม 2548 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. โครงการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับมหาวิทยาลัยของรัฐ .
E N D
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับสถาบันอุดมศึกษาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับสถาบันอุดมศึกษา รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 25-26 ตุลาคม 2548 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
โครงการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับมหาวิทยาลัยของรัฐ • เป็นระบบบูรณาการที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการจัดซื้อ จัดหาสารสนเทศและเพื่อสนับสนุนงานบริการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทั้งแก่ห้องสมุด สมาชิก และ ชุมชน
องค์ประกอบ • ระบบบริหารจัดการ (Policy management module) • ระบบการทำรายการ (Cataloging module) • ระบบการบริการยืมคืน (Circulation module) • ระบบการสืบค้นและบริการสมาชิก (OPAC and utility module) • ระบบควบคุมการบอกรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials control module) • ระบบการจัดซื้อจัดหา (Acquisition module)
1. Policy management module • ทำหน้าที่ในการกำหนดเงื่อนไขและรูปแบบ (Parameter) ที่เกี่ยวข้องกับระบบ • การกำหนดสิทธิของการใช้ระบบ (Security control) • การกำหนดเงื่อนไขในการให้บริการต่างๆ • การบริหารจัดการข้อมูลสมาชิก
2. Cataloging module • เป็นระบบบริหารจัดการงานการทำรายการ (Cataloging) เพื่อใช้ในการจัดการข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ (Information resource) ของห้องสมุด • รองรับรูปแบบ Marc21 เพื่อสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างห้องสมุด • สามารถทำรายการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับทรัพยากรสารสนเทศใหม่ได้ (Original Catalog)
สามารถทำรายการโดยการถ่ายโอนข้อมูลเข้าออกของระเบียนในรูปแบบ MARC21 ผ่าน Protocol Z39.50 • รองรับการจัดทำรายการทรัพยากรสารสนเทศรายชิ้น (Itemizing) • สามารถทำ Index จากข้อมูลที่ได้นำเข้าไปแล้ว
ควบคุมความถูกต้องของรายการ (Authority Control) เพื่อตรวจสอบรายการหัวเรื่อง รายการชื่อผู้แต่ง ฯลฯ เพื่อป้องกันการซ้ำซ้อนของข้อมูล • สามารถออกรายงานในรูปแบบต่างๆเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ
3. Circulation module • เป็นส่วนที่ใช้ในการบริการแก่สมาชิกในเรื่องของการยืม การคืน และ การจอง โดยพัฒนาให้สามารถใช้กับห้องสมุดที่มีจุดให้บริการมากกว่า 1 แห่ง • สามารถกำหนด parameter ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ ทั้งในด้านการยืม การคืน การยืมต่อ การจอง การปรับ การยกเลิกการให้บริการชั่วคราวและการรายงานสถิติ
การบริการยืม • การบริการคืน • การให้บริการยืมต่อ (Renew) ณ จุดบริการและผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต • การจอง
การยืม-คืน-จองข้ามจุดบริการภายในองค์กรเดียว โดยคำนึงถึงการบริหารจัดการที่คุ้มค่า สามารถใช้กับห้องสมุดที่มีจุดให้บริการมากกว่า 1 แห่ง • การปรับ การชำระค่าปรับ และการยกเว้นค่าปรับ
ระบบใบเสร็จและรายงานทางการเงิน (Billing and Reporting) • สามารถตรวจสอบและยกเลิกการให้บริการชั่วคราว (Blocking) • การออกรายงานการใช้บริการและสถิติ (Management Reporting)
4. OPAC and utility module • ระบบการสืบค้นและบริการสมาชิก เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่สมาชิกห้องสมุด ตลอดจนผู้สนใจ และสามารถติดต่อกับระบบผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ • สามารถสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศโดยกำหนดเงื่อนไขการสืบค้นได้ • สามารถสืบค้นสถานะของทรัพยากรสารสนเทศ
สมาชิกสามารถสืบค้นข้อมูลสถานการณ์ยืมและสถานการณ์จองของตนเองสมาชิกสามารถสืบค้นข้อมูลสถานการณ์ยืมและสถานการณ์จองของตนเอง • สมาชิกสามารถปรับปรุง email address เพื่อการติดต่อได้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อที่ห้องสมุดสามารถใช้เป็นช่องทางในการแจ้งเตือนกำหนดส่งคืนหนังสือ ตลอดจนการแจ้งรับหนังสือจองได้ด้วยตนเอง
5. Serials control module* • เป็นส่วนที่ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง โดยมีความสามารถในการทำงานดังนี้ • การจัดหาและลงทะเบียนสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง • การวิเคราะห์สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องและทำดรรชนี • การบริการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง • การเย็บเล่มสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง • การออกรายงานการใช้บริการและค่าสถิติ
6. Acquisition module* • เป็นส่วนที่ใช้ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ โดยมุ่งเน้นให้ผู้ใช้บางกลุ่ม เช่น อาจารย์ผู้สอน ผู้บริหารหลักสูตร คณบดี สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดหา • ระบบการคัดเลือก (Request & Selection System) • ระบบการสั่งซื้อและการบริหารรายงานทางการเงิน (Ordering and Reporting)