1 / 31

พัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

พัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน. กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๕. ความสำคัญของทีม SRRT ตำบล และ อสม. ในการเฝ้าระวังเหตุการณ์ เพื่อเน้นหาความผิดปกติ การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายระดับตำบล.

amil
Download Presentation

พัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๕

  2. ความสำคัญของทีม SRRT ตำบล และ อสม.ในการเฝ้าระวังเหตุการณ์เพื่อเน้นหาความผิดปกติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายระดับตำบล

  3. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนมีระบบและการทำงานระบาดวิทยาที่ดีเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่สำคัญอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนมีระบบและการทำงานระบาดวิทยาที่ดีเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่สำคัญ หลักแนวทางสำคัญในการพัฒนา • มีคน และทีมงานที่เข้มแข็ง (ทีม SRRT อำเภอ และตำบล) • ใช้ระบาดวิทยาเป็นรากฐานในการทำงานสาธารณสุข • ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในการควบคุมโรค ส่งเสิมสุขภาพ • สร้างเครือข่าย เชื่อมโยง ในระดับต่างๆ • ให้มีคุณภาพ มาตรฐานในระดับเดียวกัน และมีการยกระดับต่อเนื่อง

  4. เครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT: Surveillance and Rapid Response Team) Central ทั่วประเทศไทย1,030 ทีม Region C-SRRT Province District R-SRRT Sub- district Village P-SRRT D-SRRT อาสาสมัครสาธารณสุข

  5. สมาชิก SRRT เครือข่ายระดับตำบลจังหวัดอุตรดิตถ์ • เจ้าหน้าที่ รพ.สต. หรือ สอ. • อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสมทุกคน) • บุคลากร อปท. ได้แก่ อบต. หรือเทศบาลเมือง/ตำบล • กลุ่มอื่นๆ เช่น อาสาสมัครปศุสัตว์ ครูอนามัย ครูพี่เลี้ยงศูนย์เด็กเล็ก

  6. หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล

  7. เป้าหมายของการพัฒนาเครือข่ายSRRT ระดับตำบล 3 ร • รู้เร็ว (และตรวจสอบ) • รายงานเร็ว (แจ้งข่าว) • ควบคุมเร็ว (จำกัดการะบาด)

  8. SRRT ตำบล • เข้าใจหลักการเฝ้าระวังเหตุการณ์และทำงานกับเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อแจ้งข่าวเหตุการณ์ผิดปกติ • รู้จักชนิดของเหตุการณ์ผิดปกติทางด้านสาธารณสุข • สามารถตรวจสอบข่าวเบื้องต้นที่ได้รับแจ้งจากแหล่งข่าวและ • ดำเนินการตอบสนองได้เหมาะสม • มีทักษะการทำงานจริงในการควบคุมโรค

  9. ตัวอย่างการเฝ้าระวังเหตุการณ์หนึ่งในชุมชนตัวอย่างการเฝ้าระวังเหตุการณ์หนึ่งในชุมชน ตัวอย่างผู้ป่วย 5 ราย เมื่อมีการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง รายที่2 รายที่ 1 รพ. สต. รายที่3 รายที่ 5 รายที่ 4 รพ.เอกชน ดัดแปลงจากDr.Marjorie P. Pollack, ProMed Mail

  10. ธรรมชาติการรายงานโรค ผู้ป่วยส่วนน้อยที่มารักษาที่ สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล ผู้ป่วยจำนวนมากที่อยู่ในชุมชนไม่ได้มารักษาที่โรงพยาบาล หรือเป็นผู้ติดเชื้อไม่มีอาการ

  11. การหาข้อมูลเพิ่มเติม กรณี มีผู้ป่วย 1-2 ราย มีอาการอย่างไรบา้างเริ่มไม่สบายตั้งแต่เมื่อไหร่หมอบอกว่าเป็นโรคอะไร (กรณีที่ไปหาหมอมาแล้ว)การรักษาที่ได้รับ เช่น นอนโรงพยาบาลหรือไม่เป็นผู้หญิง หรือ ผู้ชายอายุอาชีพที่อยู่อาศัยจริง ๆสถานที่ทำงาน / โรงเรียนเบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ตอนนี้เป็นอย่างไรมีใครที่บ้านหรือละแวกบ้านเป็นแบบนี้หรือไม่

  12. การหาข้อมูลเพิ่มเติม กรณี มีผู้ป่วย หลายราย ส่วนใหญ่มีอาการอะไรบ้างเริ่มไม่สบายตั้งแต่เมื่อไหร่หมอบอกว่าเป็นโรคอะไร (กรณีที่ไปหาหมอมาแล้ว)มีผู้ป่วยทั้งหมดกี่ราย และมีคนเสียชีวิต หรือไม่ ถ้ามีกี่รายเป็นผู้หญิง /ผู้ชายกี่คนผู้ป่วยอยู่ในกลุ่มอายุใดเป็นส่วนใหญ่ เช่น เป็นเด็ก คนชราเกิดปัญหาที่ไหน เช่น หมู่บ้านไหน โรงเรียนอะไร

  13. ระบบงาน SRRT อำเภอและเครือข่ายระดับตำบล สอบสวน ควบคุมโรคได้เร็วขึ้น ตรวจสอบ แจ้งข่าว เหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน

  14. 1. โรคประจำถิ่นหรือกลุ่มอาการที่พบบ่อย 2. โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่3. เหตุการณ์ที่ส่งผลต่อการเกิดโรคในคน

  15. ชนิดของเหตุการณ์ผิดปกติชนิดของเหตุการณ์ผิดปกติ

  16. ตัวอย่างการระบาดของโรคอุจจาระร่วงตัวอย่างการระบาดของโรคอุจจาระร่วง

  17. ตัวอย่างการระบาดของโรคไข้เลือดออกตัวอย่างการระบาดของโรคไข้เลือดออก • ไข้สูงหลายวัน เบื่ออาหาร ปวดท้อง • ท้องอืด มีจุดเลือดออกตามตัว อาจซึม • หรือช็อค • หรือ ไปหาหมอแล้วพบว่าเป็นไข้เลือดออก

  18. ตัวอย่างการระบาดของโรคไข้หวัดนกตัวอย่างการระบาดของโรคไข้หวัดนก • หากพบสัตว์ปีก ป่วยตายผิดปกติ สงสัยว่าเป็นโรคไข้้หวัดนก • แจ้งจนท. รพ.สต. เฝ้าระวังโรคในคน • แจ้งปศุสัตว์อำเภอ ตรวจสอบและควบคุมโรค • ค้นหาผู้ป่วยโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน • ไข้สูง มีน้ำมูกไอ ปวดศีรษะ เจ็บคอ • ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ • อ่อนเพลีย

  19. โรคไข้หูดับ – มีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้สับสน กลัวแสง คอแข็ง– ข้ออักเสบ– ม่านตาอักเสบ– เสียการได้ยินจนถึงหูหนวกถาวร– เสียการทรงตัว– ติดเชื้อในกระแสโลหิต ช็อก

  20. ตัวอย่างเหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อมตัวอย่างเหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อม ปลาตายจำนวนมาก ไก่ตายผิดปกติ

  21. ตัวอย่างเหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อมตัวอย่างเหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อม ภาวะน้ำท่วมดินโคลนถล่ม และชาวบ้าน มีไข้สูงปวดกล้ามเนื้อ ตาแดง จำนวนหลายราย

  22. SRRT เครือข่ายระดับตำบล จ.อุตรดิตถ์กลุ่ม วัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวังอสม/เครือข่าย แจ้งข่าว รู้เร็ว จนท. รพ.สต . ตรวจสอบ รายงานเร็วSRRT อำเภอ สอบสวน ควบคุมเร็ว

  23. เหตุการณ์ผิดปกติที่ต้องแจ้งข่าวเหตุการณ์ผิดปกติที่ต้องแจ้งข่าว • ผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน มีหลายรายพร้อมๆกัน • ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุ • ผู้ป่วยเป็นโรคที่มีความสำคัญ เช่น ไข้เลือดออก อหิวาตกโรค ไข้หวัดนก • เหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อม

  24. การหาข้อมูลเพิ่มเติม กรณี มีผู้ป่วย 1-2 ราย มีอาการอย่างไรบ้างเริ่มไม่สบายตั้งแต่เมื่อไหร่หมอบอกว่าเป็นโรคอะไร (กรณีที่ไปหาหมอมาแล้ว)การรักษาที่ได้รับ เช่น นอนโรงพยาบาลหรือไม่เป็นผู้หญิง หรือ ผู้ชายอายุอาชีพที่อยู่อาศัยจริง ๆสถานที่ทำงาน / โรงเรียนเบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ตอนนี้เป็นอย่างไรมีใครที่บ้านหรือละแวกบ้านเป็นแบบนี้หรือไม่

  25. การหาข้อมูลเพิ่มเติม กรณี มีผู้ป่วย หลายราย ส่วนใหญ่มีอาการอะไรบ้างเริ่มไม่สบายตั้งแต่เมื่อไหร่หมอบอกว่าเป็นโรคอะไร (กรณีที่ไปหาหมอมาแล้ว)มีผู้ป่วยทั้งหมดกี่ราย และมีคนเสียชีวิต หรือไม่ ถ้ามีกี่รายเป็นผู้หญิง /ผู้ชายกี่คนผู้ป่วยอยู่ในกลุ่มอายุใดเป็นส่วนใหญ่ เช่น เป็นเด็ก คนชราเกิดปัญหาที่ไหน เช่น หมู่บ้านไหน โรงเรียนอะไร

  26. คำถามที่ต้องตอบเมื่อได้รับข่าวคำถามที่ต้องตอบเมื่อได้รับข่าว เหตุการณ์ร้ายแรงหรือไม่ ข่าวเชื่อถือได้หรือไม่ แพร่ระบาดได้เร็วหรือไม่ เป็นประเด็นการเมืองหรือไม่ ปัญหาสุขภาพนี้ ผิดปกติหรือไม่ มีความกังวลในระดับนานาชาติหรือไม่ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจหรือไม่ ที่มา: Dr.Marjorie P. Pollack, ProMed Mail

  27. เป้าหมายในการพัฒนาของจังหวัดอุตรดิตถ์เป้าหมายในการพัฒนาของจังหวัดอุตรดิตถ์ • มีศูนย์รับแจ้งข่าวที่ รพ.สต. • บุคลากรเข้าใจขั้นตอนทำงานระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ • มีการทำงานร่วมกันเป็นทีมอย่างใกล้ชิดในพื้นที่ • สอ./รพ.สต. • อสม. • อบต./เทศบาล/กำนันผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน • หน่วยงานอื่นๆ เช่น ปศุสัตว์ตำบล ครูพี่เลี้ยงเด็ก ครู อนามัย สื่อมวลชน

  28. ผลที่มุ่งหวัง • ระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ที่ระดับตำบล เป็นระบบเสริมช่วยให้ตรวจพบการระบาดได้เร็วขึ้น • ศูนย์รับแจ้งข่าวที่รพ.สต. รับแจ้งเหตุการณ์เกิดโรคในคน และเหตุการณ์ผิดปกติที่เกิดในสัตว์และสิ่งแวดล้อมที่อาจจะส่งผลต่อสุขภาพของคน • หัวใจของความสำเร็จคือ ทุกเหตุการณ์ที่ได้รับแจ้งต้องมีการตอบสนอง คือ มีการตรวจสอบข่าวและควบคุมโรค

  29. เบอร์โทรศัพท์มือถือบุคลากร รพ/รพสต. 1.ผอ.รพสต................................... 2.ผู้รับผิดชอบงาน......................... 3.บุคลากรทุกคน............................

  30. ทุกรพ/รพสต. • - จัดทำทะเบียนอสมที่ผ่านการอบรมไว้ที่รพสต. • - การพัฒนาSRRT เครือข่ายระดับตำบล • เบอร์โทรศัพท์มือถือ อสม.ทุกคนที่อบรม • E –mail/ Face book • -ส่งทะเบียนอสมที่ผ่านการอบรมให้สสจ.อตที่ • e-mail • Com_ut@hotmail.co.th • อบรมสิ้นเดือนมีนาคม-ต้นเดือนเมษา

  31. ขอขอบคุณ SRRT ตำบลทุกท่าน เราช่วยกันสร้าง อำเภอ ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง

More Related