190 likes | 357 Views
สรุปการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554. จังหวัดพะเยา. ข้อมูลทั่วไป จ.พะเยา. 9 อำเภอ 68 ตำบล. รับนโยบาย,อบรมครู ก. และอบรมทีม SRRT ตำบล. การดำเนินการอบรมทีม SRRT ตำบล ปี 2554. การประเมินตนเอง ( Self assessment ) ตามคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง.
E N D
สรุปการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554 จังหวัดพะเยา
ข้อมูลทั่วไป จ.พะเยา 9 อำเภอ 68 ตำบล
รับนโยบาย,อบรมครู ก. และอบรมทีม SRRT ตำบล
การดำเนินการอบรมทีม SRRT ตำบล ปี 2554
การประเมินตนเอง (Self assessment) ตามคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง * ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80
การคัดเลือกตัวแทนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดพะเยา • อำเภอ THE BEST คือ อำเภอเมืองพะเยา • อำเภอ THE MUST คืออำเภอดอกคำใต้
จุดแข็ง • นโยบายชัดเจน มีการถ่ายทอดสื่อสารแก่อำเภอ • มีมาตรฐานเกณฑ์ประเมิน • งบสนับสนุน
จุดอ่อน • กระบวนการดำเนินงานของอำเภอที่ไม่ได้รับการคัดเลือกประกวด การอบรมทีม SRRT ตำบลดำเนินการเฉพาะเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณ • แบบประเมินมาตรฐาน 5 องค์ประกอบ อำเภอวิเคราะห์และแยกประเมินเป็นส่วนๆ ไม่เชื่อมโยงกัน • ระยะเวลาดำเนินการโครงการสั้น
ลำดับโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา โรคสำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข
ลำดับโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา โรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่
5ลำดับแรกของโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา • การติดเชื้อHIV/โรคเอดส์ • โรควัณโรค • โรคหลอดเลือดสมอง • โรคไข้เลือดออก • โรคอาหารเป็นพิษ
สถานการณ์เอดส์ จ.พะเยา • มีผู้ป่วยรายแรกใน จ.พะเยา เมื่อปี 2532 ข้อมูล ณ กันยายน 2553 จ.พะเยา มีรายงานผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ทั้งสิ้น 17,029 ราย ชาย 10,623 ราย หญิง 6,406 ราย เสียชีวิตแล้ว 7,512 ราย • อำเภอที่มีจำนวนผู้ป่วยสะสมสูงสุด 3 ลำดับแรก คือ อ.เชียงคำ 3,742 ราย อ.เมือง 3,676 ราย อ.ดอกคำใต้ 2,467 ราย • ข้อมูลเฝ้าระวังการติดเชื้อ ปี 2552 - หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อ ร้อยละ 2.66 - ผู้บริจาคโลหิต ติดเชื้อร้อยละ 0.24 - หญิงบริการ ติดเชื้อร้อยละ 9.09
สถานการณ์โรควัณโรค จ.พะเยา อัตราป่วยต่อแสนของวัณโรค จ.พะเยา ปี 2548-2553
ปี 2553 • มีผู้ป่วย 1,345 ราย • อัตราป่วย 276.32/แสน • (เกินเกณฑ์ปกติ • 5.5 เท่า) • มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย • มีผู้ป่วยใน 60 ตำบล • จากทั้งหมด 68 ตำบล • เป็นร้อยละ 88 ของพื้นที่ อัตราป่วยต่อแสน ไม่มีผู้ป่วย 0.1-25.0 25.1-50.0 50.1-100.0 > 100 ภาพแสดง ตำบลพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำแนกตามอัตราป่วย
วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงการระบาดไข้เลือดออก ปี 2554 รายตำบลโดยใช้เกณฑ์ • พื้นที่เกิดโรคซ้ำซาก • ย้อนหลัง 5 ปี • ( ปี 2548-2552) • อัตราป่วยย้อนหลัง • 5 ปี ( ปี 2548-2552) • การระบาดปี 2553 โอกาสเสี่ยง ปานกลาง สูง สูงมาก ภาพแสดงตำบลในจังหวัดพะเยา ที่มีความเสี่ยงต่อการระบาดไข้เลือดออก ปี 2554
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 จ.พะเยา มิ.ย.52-ต.ค. 53
สถานการณ์อาหารเป็นพิษจังหวัดพะเยาสถานการณ์อาหารเป็นพิษจังหวัดพะเยา ที่มา : ศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา
สถานการณ์อาหารเป็นพิษ - ข่าวจากหนังสือพิมพ์
ความต้องการสนับสนุน • คน : ทีมสนับสนุนการดำเนินการพัฒนา • เงิน : งบประมาณการดำเนินการประชุม อบรม พัฒนาทีม SRRT ตำบล กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ของ : สื่อสุขศึกษา คู่มือการดำเนินการ วัสดุ-อุปกรณ์ในการเตรียมความพร้อมรับโรคและภัยสุขภาพ ลักษณะของกล่องชุดอุปกรณ์ฯ