1 / 32

การประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2

การประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2. พัฒนาวิชาการ ระบบบริการตติยภูมิและศูนย์การแพทย์ระดับภูมิภาคของประเทศ ( Regional Referral Centers :RRC ). นายแพทย์มัยธัช สามเสน ผู้อำนวยการสถาบันประสาทวิทยา และ คณะทำงานประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2. วิสัยทัศน์.

amos-duran
Download Presentation

การประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาวิชาการ ระบบบริการตติยภูมิและศูนย์การแพทย์ระดับภูมิภาคของประเทศ (Regional Referral Centers:RRC) นายแพทย์มัยธัช สามเสน ผู้อำนวยการสถาบันประสาทวิทยา และ คณะทำงานประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2

  2. วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำทางวิชาการและเทคโนโลยี ทางการแพทย์ที่สมคุณค่า เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าของประชาชน

  3. ยุทธศาสตร์กรมการแพทย์ยุทธศาสตร์กรมการแพทย์ 1. พัฒนาสถาบันกรมการแพทย์เป็นสถาบันเฉพาะทางชั้นสูง / สถาบันระดับชาติ (Centers of Excellence /National Institutes2. พัฒนาวิชาการ ระบบบริการตติยภูมิและศูนย์การแพทย์ ระดับภูมิภาคของประเทศ (Regional Referral Centers)3. พัฒนานโยบายและดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ อย่างเป็นระบบตามบริบทของกรมการแพทย์4. พัฒนาบริการทางการแพทย์ด้านการบำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยา และสารเสพติดอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน5. พัฒนาระบบบริหารจัดการ

  4. ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาวิชาการ ระบบบริการตติยภูมิและศูนย์การแพทย์ระดับภูมิภาคของประเทศ (Regional Referral Centers:RRC)

  5. ประเด็นยุทธศาสตร์ : พัฒนาเครือข่ายวิชาการเพื่อสร้างมาตรฐานการบริการตติยภูมิและพัฒนาศักยภาพของสถานบริการและระบบเครือข่าย • ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ : จำนวนเครือข่ายบริการที่ได้รับการพัฒนาวิชาการ (เป้าหมายปี 2553 = 6 ด้าน) ( หมายเหตุ : กรมการแพทย์ไม่ได้กำหนดไว้ชัดเจนว่า เป้าหมายทั้ง 6 ด้าน มีด้านใดบ้าง แต่มีนโยบายให้พัฒนาเครือข่ายในด้านที่หน่วยงานมีความเชี่ยวชาญ ในฐานะที่เป็นศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์เฉพาะทาง (Centers of Excellence) ซึ่งมี 20 ด้าน)

  6. เป้าหมาย โรงพยาบาล สถาบัน และศูนย์ของกรมการแพทย์ นำความรู้ความชำนาญเฉพาะด้านของตนเอง ไปพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ให้เป็นศูนย์การแพทย์ภูมิภาคของประเทศ เพื่อสามารถให้บริการผู้ป่วยได้อย่างทั่วถึงและ มีคุณภาพ

  7. วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนาเครือข่ายด้านวิชาการ เทคนิค วิธีการ และศักยภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วยด้านต่างๆ • เพื่อให้เกิดระบบเครือข่ายในการทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง • เพื่อให้หน่วยงานเครือข่ายมีแนวทางการรักษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล • เพื่อให้หน่วยงานเครือข่ายมีแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้อง • เพื่อให้เกิดระบบการพัฒนาระบบการรับส่งต่อผู้ป่วย

  8. สร้าง/พัฒนาเครือข่ายด้านวิชาการกับภูมิภาคสร้าง/พัฒนาเครือข่ายด้านวิชาการกับภูมิภาค พัฒนาความเป็นเลิศเฉพาะทาง (COE) 20 ด้าน Goal 20 ด้าน ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานเท่าเทียมกัน

  9. กลุ่มเป้าหมาย • ระดับหน่วยงาน(รพศ. รพท. รพช. ศูนย์บริการสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร สำนักการแพทย์กรุงเทพมหานคร ฯลฯ) • บุคลากรทางการแพทย์ - แพทย์ - พยาบาล - บุคลากรทางการแพทย์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์การแพทย์ นักเทคนิค การแพทย์เภสัชกร นักกายอุปกรณ์/ช่างกายอุปกรณ์ เป็นต้น - นักวิชาการ - นักศึกษาแพทย์ (ส่วนใหญ่เป็น รพศ. รพท. / แพทย์ พยาบาล)

  10. รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายรูปแบบกิจกรรมการพัฒนาเครือข่าย 1)การถ่ายทอดองค์ความรู้ คือการให้ความรู้แก่บุคลากรทางการแพทย์ 2) การสาธิตคือการแสดงและลงมือกระทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงกระบวนการ ขั้นตอนหรือการปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สาธิตการผ่าตัด การตรวจตา 3) การพัฒนาระบบบริการการจัดตั้งหน่วยบริการ( Unit ) การให้บริการ การกำหนดมาตรฐานของ Unitการให้บริการการพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วย 4) การนิเทศคือการติดตามดูงาน เยี่ยมสำรวจ หรือวิธีอื่น ๆ ระหว่างหน่วยบริการหลังจากการพัฒนาเครือข่าย โดยร่วมกับการประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ การอบรมถ่ายทอด/สาธิต/พัฒนาระบบ เป็นต้น

  11. ผลการดำเนินการ

  12. ด้านที่มีการพัฒนาเครือข่าย ปี 2553

  13. ด้านที่มีการพัฒนาเครือข่าย ปี 2553 (ต่อ)

  14. เหตุผลการพัฒนาเครือข่ายแต่ละด้านเหตุผลการพัฒนาเครือข่ายแต่ละด้าน 1. ความเป็นเลิศเฉพาะทางการแพทย์ของโรงพยาบาล / สถาบัน/ศูนย์ 2. มีบุคลากรที่เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน 3. ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 4. นโยบายกรมการแพทย์ 5. การกระจายการให้บริการความครอบคลุมของพื้นที่

  15. วิธีการเลือกพื้นที่ • 1. ความต้องการของพื้นที่และเครือข่าย • 2. ปริมาณการส่งต่อผู้ป่วยมายังกรมการแพทย์ • ความสะดวกในการประสานงาน • ความกระจายทุกภูมิภาค • 5. ศักยภาพของโรงพยาบาลที่จะพัฒนาเครือข่าย • 6. ปัญหาสุขภาพ/สาธารณสุขของพื้นที่ • 7. ตามนโยบายของกรมการแพทย์ • 8. พื้นที่ตั้งเครือข่ายไม่เสี่ยง เดินทางสะดวก

  16. วิธีการเลือกพื้นที่ (ต่อ) 9. ตามเขตพื้นที่รับผิดชอบ 10. ความพร้อมของเครือข่าย 11. บางกรณีการจัดกิจกรรมพัฒนาวิชาการด้านต่างๆ เช่น ด้านจอประสาทตา ด้านโสตศอนาสิก ได้จัดกิจกรรมในพื้นที่เดียวกับโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการแบบเบ็ดเสร็จ ซึ่งออกบริการหน่วยแพทย์ ณ พื้นที่ ในลักษณะของ Government Counter Service

  17. แต่ละกิจกรรม มีการเลือกพื้นที่ต่างๆ เพื่อดำเนินงาน ดังนี้

  18. การถ่ายทอดองค์ความรู้การถ่ายทอดองค์ความรู้ พื้นที่ที่ได้ดำเนินการ พื้นที่ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ: น่าน อุตรดิตถ์ สุโขทัย

  19. การสาธิต พื้นที่ที่ได้ดำเนินการ พื้นที่ที่ยังไม่ได้มีการดำเนินการ: เชียงใหม่ พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ สุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ หนองคาย สกลนคร หนองบัวลำภู เลย มุกดาหาร ยโสธร อำนาจเจริญ ประจวบคีรีขันธ์ ปทุมธานี นครนายก อ่างทอง สิงห์บุรี สระแก้ว ตราด ระนอง ปัตตานี

  20. การพัฒนาระบบบริการ พื้นที่ที่ได้ดำเนินการ พื้นที่ที่ยังไม่ได้มีการดำเนินการ:พะเยา แม่ฮ่องสอน ลำพูน ตาก อุตรดิตถ์ สุโขทัย เพชรบูรณ์ หนองคาย สกลนคร หนองบัวลำภู กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ ยโสธร อำนาจเจริญ ศีรษะเกษ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม นนทบุรี อ่างทอง ระนอง ภูเก็ต กระบี่ พัทลุง สตูล

  21. การนิเทศ พื้นที่ที่ได้ดำเนินการ พื้นที่ที่ยังไม่ได้มีการดำเนินการ:อุตรดิตถ์ สุโขทัย ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ หนองคาย นครพนม สกลนคร หนองบัวลำภู เลย กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ ศีรษะเกษ บุรีรัมย์ กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สระบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ สมุทรสงคราม นนทบุรี สุพรรณบุรี ปทุมธานี นครนายก อ่างทอง สิงห์บุรี ฉะเชิงเทรา สระแก้ว จันทบุรี ตราด ระนอง ภูเก็ต พัทลุง สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส

  22. ความหนาแน่นในการเลือกพื้นที่ความหนาแน่นในการเลือกพื้นที่ พื้นที่ได้รับการพัฒนาเครือข่ายฯหนาแน่น ได้แก่ พังงา ขอนแก่น กรุงเทพมหานคร ลำปาง สุรินทร์ สงขลา นครราชสีมา นราธิวาส กำแพงเพชร และ ราชบุรี พื้นที่ถูกละเลยในการคัดเลือก ได้แก่ จังหวัดอุตรดิตถ์ สุโขทัย มหาสารคาม หนองคาย อำนาจเจริญ สระแก้ว ฉะเชิงเทรา อ่างทอง หนองบัวลำภู ยโสธร ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ตราด และระนอง

  23. พื้นที่ได้รับการพัฒนาเครือข่ายฯหนาแน่น

  24. พื้นที่ได้รับการพัฒนาเครือข่ายฯหนาแน่น (ต่อ)

  25. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • 1. นโยบายที่ชัดเจนของกรมการแพทย์ /การสนับสนุนด้านงบประมาณ • และบุคลากร • 2. ความร่วมมือของโรงพยาบาลเครือข่าย • 3. พัฒนาตรงตามความต้องการของเครือข่าย/ตามปัญหาสุขภาพของพื้นที่ • 4. ความพร้อมด้านบุคลากรและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน • 5. ความเชี่ยวชาญของบุคลากร มีเทคนิคสูง • 6. การยอมรับในความสามารถเฉพาะทางของหน่วยงานในสังกัด • กรมการแพทย์ • 7. ความมุ่งมั่น ความพยายามของ ผู้บริหาร และบุคลากร ในการผลักดัน • 8. การประสานงานที่มีประสิทธิภาพ

  26. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (ต่อ) 9. ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ /การสนับสนุนของกรมการแพทย์ 10. ความพร้อมของหน่วยงานเครือข่าย 11. ความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ 12. นโยบายที่สำคัญของรัฐบาล / การมีข้อกฏหมายรองรับชัดเจน ทำให้ทุกภาคส่วนให้ ความสำคัญ ได้แก่ ด้านผู้พิการ ด้านอาชีวเวชศาสตร์ 13. การได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ เช่น สปสช. 14. มีการดำเนินการพัฒนาเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง 15. การประชาสัมพันธ์ของพื้นที่ 16. การทำงานเป็นทีมของกลุ่มสหวิชาชีพ 17. การนำผู้เข้าอบรมศึกษาดูงานสถานที่จริงทำให้เข้าใจวิธีการดูแลผู้ป่วยมากขึ้น 18. การมีเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีการเรียนการสอนที่เป็นระบบ 19. การมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

  27. ปัญหาอุปสรรค • นโยบายกรมการแพทย์ด้านการพัฒนาเครือข่าย ไม่ชัดเจน • ขาดการสนับสนุนด้านงบประมาณและบุคลากร • 3. นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งกำกับหน่วยงานเครือข่ายไม่ให้ความสำคัญ • จึงขาดความร่วมมือในการสร้างเครือข่าย อีกทั้งไม่ได้กำหนดผู้รับผิดชอบโดยตรงทำให้ • ระบบที่ร่วมกันพัฒนาไม่ได้ถูกนำไปใช้อย่างสมบูรณ์และต่อเนื่อง • 4. ขาดการประชาสัมพันธ์โครงการ • 5. ความพร้อมของสถานที่และอุปกรณ์ • 6. การจัดกลุ่มเป้าหมายไม่ชัดเจนเท่าที่ควร • 7. บางหลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงเพื่อความเหมาะสมอยู่เสมอ • 8. การประสานงานกับหน่วยงานภายนอกล่าช้า • 9. ภาระงานด้านการบริหารยังมีมากทำให้การพัฒนาเครือข่ายได้ไม่รวดเร็ว • 10. กรณีการรับส่งต่อผู้ป่วยพบว่าผู้ป่วยที่ส่งมารักษาไม่ได้มีสิทธิค่ารักษามาด้วย

  28. ข้อเสนอแนะต่อการบริหารยุทธศาสตร์ข้อเสนอแนะต่อการบริหารยุทธศาสตร์ 1. กรมการแพทย์ควรมีนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการเพื่อให้การ สนับสนุนงบประมาณ เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมถึงบุคลากร 2. กรมการแพทย์ควรสื่อสารนโยบายด้าน RRC ให้หน่วยงานในสังกัด กรมการแพทย์ให้ชัดเจน และเข้าใจตรงกัน 3. กระทรวงสาธารณสุขในฐานะเป็นผู้ดูแลและกำกับ รพศ. รพท. ควรมีนโยบาย ที่ชัดเจน ในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการกับกรมการแพทย์ เพื่อให้การ สนับสนุนงบประมาณ เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมถึงบุคลากร 4. การพัฒนาเครือข่ายควรพิจารณาจากปัญหาสุขภาพของพื้นที่/ ความต้องการ ในการพัฒนาศักยภาพ 5. ควรมีการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการ 6. ควรกำหนดตัวชี้วัดในการพัฒนาให้ชัดเจนและเป็นรูปธรรมเพื่อประเมินถึง ความสำเร็จของการพัฒนา

  29. ข้อเสนอแนะต่อการบริหารยุทธศาสตร์(ต่อ)ข้อเสนอแนะต่อการบริหารยุทธศาสตร์(ต่อ) 7. ควรวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการประจำปี และประชาสัมพันธ์ ให้ พื้นที่ได้ทราบล่วงหน้า 8. การดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิชาการควรมีรูปแบบที่หลากหลายตามบริบท ของโรคที่สอดคล้องกับ COE 9. ควรมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและขยายเครือข่ายวิชาการให้ครอบคลุม 10. ควรมีการจัดการความรู้ (Knowledge management :KM) และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ในการดำเนินการพัฒนาเครือข่าย 11. ควรวางระบบการติดตามประเมินผลและการสะท้อนกลับข้อมูลเพื่อนำมา พัฒนา ปรับปรุงต่อไป 12. ควรมีการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาจากหน่วยงานอื่นๆที่ยังไม่ได้เป็น เครือข่ายเพิ่มเติม เนื่องจากมี รพ. อีกหลายแห่งที่ต้องการพัฒนา

  30. ขอบคุณครับ

More Related