1 / 24

 2 -test

 2 -test. การทดสอบโดยใช้  2 จะมีอยู่ 2 กรณี. 1. การทดสอบกรณีตัวแปรเดียว (the  2 - one variable case หรือบางครั้งอาจเรียกว่าการทดสอบความพอดี (Goodness – of – fit test).

Download Presentation

 2 -test

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2-test

  2. การทดสอบโดยใช้ 2 จะมีอยู่ 2 กรณี 1. การทดสอบกรณีตัวแปรเดียว (the 2 - one variable case หรือบางครั้งอาจเรียกว่าการทดสอบความพอดี (Goodness – of – fit test)

  3. 2. การทดสอบกรณีสองตัวแปร (the 2 two – variable case) เป็นการทดสอบเพื่อดูว่าตัวแปรสองตัวมีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกันหรือไม่ ดังนั้นบางทีจึงเรียกว่าการทดสอบความเป็นอิสระ (the 2 test for independence)

  4. สูตรการคำนวณ กรณีที่1

  5. สมมติฐานการวิจัย • ความถี่ที่สังเกตได้กับความถี่ที่คาดหวังแตกต่างกัน • สมมติฐานทางสถิติ • H0 : ความถี่ที่สังเกตได้กับความถี่ที่คาดหวังไม่แตกต่างกัน • H1 :ความถี่ที่สังเกตได้กับความถี่ที่คาดหวังแตกต่างกัน

  6. ตัวอย่างการคำนวณ

  7. หาความถี่คาดหวัง = 87.5

  8. แทนค่าในสูตร =7.0

  9. นำค่า 2 ที่คำนวณได้ไปเทียบกับ 2วิกฤต ที่ df = 1 ดูตาราง พบว่า 2.01,1 = 6.635 จะเห็นว่าค่า 2 ที่คำนวณได้สูงกว่าค่าวิกฤต ซึ่งตกในพื้นที่วิกฤต จึงปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1

  10. ตัวอย่าง การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

  11. หา E ได้จาก E = (R X C )/ N

  12. O1 = 30, R = 57, C = 117 E = = 28.02 O2 = 20, R = 57, C = 83 E = = 19.88 O3 = 7, R = 57, C = 38 E = = 9.10 O4 = 40, R = 82, C = 117 E = = 40.31 O5 = 30, R = 82, C = 83 E = = 28.60

  13. O6 = 12, R = 82, C = 38 E = = 13.09 O7 = 47, R = 99, C = 117 E = = 48.67 O8 = 35, R = 99, C = 83 E = = 15.81 O8 = 19, R = 99, C = 38 E = = 15.81

  14. แทนค่าลงในสูตร =1.0704

  15. นำค่า 2 ที่คำนวณได้ไปเทียบกับค่าวิกฤติจากตาราง ซึ่งมีค่า 2 .05, 4 = 9.488 • จะเห็นว่าค่า 2 คำนวณ2วิกฤต จึงยอมรับ H0

  16. สรุป ได้ว่า • อาชีพกับความพึงพอใจไม่มีความสัมพันธ์กัน หรือ ความพึงพอใจไม่ขึ้นอยู่กับอาชีพ

  17. การหาขนาดความสัมพันธ์ของ 2 แบบ 2 x 2 เท่านั้น

  18. การหาขนาดความสัมพันธ์ของ 2 แบบ 2 x 2, 3 x 3,4 x4,…

  19. การหาขนาดความสัมพันธ์ของ 2 ใช้ได้กับตารางทุกแบบ

More Related