930 likes | 2.28k Views
บทบาทของ อ สม. กับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน โดย น.ต.นพ.บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข / ผอ.ศตส.สธ. สมองส่วนคิด ( Cerebral Cortex ). สมองส่วนอยาก ( Limbic System ). ส่วนของสมองที่ถูกทำลายโดยยาบ้า. Frontal Cortex. Striatum. Limbic system. ควบคุม.
E N D
บทบาทของ อสม. กับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน โดย น.ต.นพ.บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข / ผอ.ศตส.สธ.
สมองส่วนคิด ( Cerebral Cortex ) สมองส่วนอยาก ( Limbic System )
ส่วนของสมองที่ถูกทำลายโดยยาบ้าส่วนของสมองที่ถูกทำลายโดยยาบ้า Frontal Cortex Striatum Limbic system ควบคุม O ศูนย์บัญชาการของร่างกาย O อารมณ์ O แหล่งสติปัญญา O ความจำ O การตัดสินใจ O นิสัยใจคอ O การสั่งงาน O ความสุข O ความพอใจ - ทางกาย - ทางเพศ Hippocampus O อุณหภูมิ เมื่อเสพยาบ้าไประยะหนึ่ง เซลล์ของสมองส่วนที่สำคัญ ได้แก่ สมองส่วนหน้าและสมองส่วนใน ก็จะเริ่มถูกทำลาย โดยเริ่มจากสมองส่วนใน ในบริเวณที่เรียกว่า Striatum ไปจนถึงสมองส่วนหน้า ที่เรียกว่า Frontal Cortex ซึ่งจะทำให้นิสัยใจคอ อารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ เริ่มผิดปกติไป ต่อมา ความคิดสติปัญญาและการใช้เหตุผลก็จะค่อยๆ เสื่อมถอยตามไปด้วยซึ่งอาการที่พบ ผู้เสพยาบ้าก็คือ การเสียสติ หรือเป็นบ้านั่นเอง
รูปผ่าขวางสมองของมนุษย์ที่ติดยารูปผ่าขวางสมองของมนุษย์ที่ติดยา การเสพยาบ้าจะกระตุ้นให้สมองทำงานมากกว่าปกติ เมื่อเสพไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งติด สมองจะถูกทำลาย การทำงานก็จะเสื่อมถอยลง
Toluene ในสารระเหย ออกฤทธิ์กดประสาท สมอง Dopamine จับกับ GABA ในสมองน้อย -เคลิ้มสุข -มึนงง สับสน -พูดไม่ชัด อ้อแอ้ -เดินเซ -มือสั่นกระตุก -เยื่อบุตาอักเสบ -พาร์คินสัน -ระยะยาวทำลาย สมองน้อยอย่างถาวร -เกิดความพึงพอใจ -เคลิ้มสุข -คึกคะนอง -คุมสติไม่อยู่ -ก่อเหตุทะเลาะวิวาท -คลื่นไส้อาเจียน -หูแว่ว -ประสาทหลอน -โรคจิตทางเคมี (จิตเภท หรือ Schizophrenia) กลไกการออกฤทธิ์ของสารระเหยในสมอง
กระท่อมภัยเงียบ...ร้ายแรง...คร่าชีวิต!กระท่อมภัยเงียบ...ร้ายแรง...คร่าชีวิต! กระท่อม... ยาเสพติดประเภท 5 เมื่อเสพเบื้องต้น จะทำให้รู้สึกสบาย ว่องไว ทำงานได้ เมื่อเสพต่อเนื่องจนติด จะเกิดโทษมหันต์ต่อร่างกายและจิตใจ ประสาทหลอน นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย สับสน ผิวหนังดำเกรียม โดยเฉพาะใบหน้า โหนกแก้มทั้งสองข้าง เช่นเดียวกับโรคมะเร็งตับ หรือตับวาย ปากแห้ง คอแห้ง ช่องปากอักเสบติดเชื้อ ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เหนื่อยมาก หัวใจวาย เสียชีวิต ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดตามข้อ แขน ขา กระตุกและชักเกร็งได้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ร่างกายซูบผอม ปวดท้อง ท้องผูกเรื้อรัง อุจจาระดำเป็นก้อนคล้ายมูลแพะ กระเพาะอาหารและลำไส้อุดตัน แตกทะลุ กระท่อม! ยาเสพติดร้ายแรงกว่าที่คิด เปลี่ยนความเชื่อผิดๆ เลิกคิด เลิกลอง เลิกเสพ
๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น ๒. มีผู้ลักลอบผลิตยาเสพติด เพราะสารตั้งต้นในการผลิตยาบ้าหาได้ง่าย ๓. มีการแพร่ระบาดของยาบ้าอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเชื้อโรค ๔. ยาบ้ามีทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่งในโรงเรียน หรือในวัด ๕. ผู้ผลิตยาเสพติด และผู้ขายกำลังทำตนเป็นฆาตกร ฆ่าลูกหลานไทยอย่างเลือดเย็น ๖. ครอบครัวปล่อยให้ลูกหลานติดยา โดยไม่พาไปรักษา ต้องให้เวลา ให้กำลังใจในการฟื้นฟูลูกหลานที่ติดยา จากพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ พระราชทานแก่คณะบุคคลที่เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ศาลาดุสิตดาลัย พระตำหนักจิตลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่ดำเนินการในปีแรกนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่ดำเนินการในปีแรก ๑. กำหนดเป็น “วาระแห่งชาติ” ๒. ยึดหลักนิติธรรมในการปราบปราม โดยบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ๓. ยึดหลักเมตตาธรรม ผู้เสพคือผู้ป่วยต้องได้รับการบำบัดรักษา พร้อมทั้งมีกลไกติดตามช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ ๔. ควบคุมและสกัดกั้นยาเสพติด สารเคมี และสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติด ๕. ป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ๖. บริหารจัดการอย่างบูรณาการ
กลยุทธ์ 1. ทุกภาคส่วนเป็นพลังแผ่นดินในการต่อสู้กับยาเสพติด 2. ผู้เสพ ผู้ติด คือผู้ป่วย ที่ต้องนำเข้าสู่การบำบัดรักษา ฟื้นฟู 3. ควบคุมและลดปัจจัยลบในกลุ่มเสี่ยง 4. มาตรการทางกฎหมายในการปราบปราม 5. ความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน 6. เอกภาพในการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด :ลดความรุนแรงของปัญหายาเสพติดจนไม่กระทบความเดือดร้อน ของประชาชน สร้างความเข้มแข็งของชุมชนต่อเนื่อง ลดความรุนแรงทุกด้าน ดำรงความสงบสุขอย่างยั่งยืน • -มีหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง มากกว่า 80% • มีระบบฐานข้อมูลการเฝ้าระวังร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน • ความพึงพอใจและความเชื่อมั่นของประชาชนเพิ่มขึ้น • ความรุนแรงของปัญหายาเสพติดลดลง • -สัดส่วนผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ไม่เกิน 3 : 1,000 • สัดส่วนผู้เสพ ผู้ติดรายใหม่ ไม่เกิน 20% • ผู้ผลิต ผู้ค้า และเครือข่ายยาเสพติดถุกจับกุมตามเป้าหมายไม่น้อยกว่า 80% • สัดส่วนการสกัดกั้นพื้นที่ชายแดนต่อพื้นที่ตอนใน (70:30)
แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด 1. ยึดหลักเมตตาธรรม นำผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบำบัดฟื้นฟู ไม่น้อยกว่า 400,000 คน โดยมีเป้าหมายผู้เสพ ผู้ติด อัตราส่วน 3 : 1,000 2.มีศูนย์บำบัดฟื้นฟูทุกอำเภอ/เขต (928 แห่ง) 3. มีทีมสหวิชาชีพบำบัดฟื้นฟูประจำอำเภอ 4. มีการติดตาม ดูแลช่วยเหลือหลังผ่านการบำบัดโดย อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) และตำรวจ ครอบคลุม 84,954 หมู่บ้าน/ชุมชน 5. วิธีการ ผู้เสพ บำบัดโดยค่ายพลังแผ่นดิน (ค่ายบำบัดในชุมชน) ทุกอำเภอ ผู้ติด บำบัดในสถานบำบัดของกระทรวงสาธารณสุข ค่ายวิวัฒน์พลเมือง กระทรวงกลาโหม สถานบำบัดของ สตช. /กทม. ศูนย์บำบัดฟื้นฟู กรมคุมประพฤติ
กระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติดกระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด : ประชาคม การค้นหา : สมัครใจกึ่งบังคับ (จูงใจ) หมู่บ้าน / ชุมชน ผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ การคัดกรอง เรือนจำ / สถานพินิจ ผู้ติด ผู้เสพ FAST Model / TC ( 4 เดือน ) ผู้ป่วยนอก : Matrix ( 4 เดือน :สธ.) ผู้ป่วยใน : FAST Model ( 4 เดือน :สธ.) ค่ายพลังแผ่นดินในชุมชน (≥9 วัน) ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ควบคุมตัว ไม่ควบคุมตัว เข้มงวด : กห., ยธ. ไม่เข้มงวด : กห., มท.,สธ. โปรแกรม สนง.คุมประพฤติ (รายงานตัว) ผู้ป่วยนอก : Matrix (4 เดือน :สธ.) : ไม่เสพซ้ำ คุณภาพชีวิต : มีอาชีพ/การ ศึกษา ติดตาม : อสม. / ตำรวจ (12 เดือน) : ฟื้นฟูต่อเนื่อง : ติดตาม ≥ 4 ครั้ง • ฝึกอาชีพ • จัดหางาน • การศึกษา กลับสู่ชุมชน
ตัวชี้วัดด้านผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดตัวชี้วัดด้านผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด 1. 1 อำเภอ มี 1 ศูนย์ฟื้นฟู / ค่ายพลังแผ่นดิน 2. นำผู้เสพ / ผู้ติดเข้าบำบัดทุกระบบ จำนวน 400,000 คน 3. ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดอยู่ในอัตราส่วน 3 : 1,000 4. ผู้ผ่านการบำบัดฯ ไม่กลับไปเสพติดซ้ำ ไม่น้อยกว่า 80%
บทบาท อสม. กับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในชุมชน
เพื่อให้ อสม. สามารถ ๑. มีความรู้พื้นฐานด้านยาและสารเสพติด ๒. เป็นคู่คิดที่ปรึกษาผู้รับการบำบัดในชุมชน ๓. คัดกรองผู้เสพ/ติดยาและสารเสพติดได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ๔. ส่งต่อเพื่อการบำบัดได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมตามบริบทของผู้ป่วย ๕. ติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดเพื่อป้องกันการเสพติดซ้ำ ๖. ป้องกันผู้เสพติดรายใหม่ในชุมชน อสม. เชี่ยวชาญด้านยาเสพติด
บทบาท อสม. กับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน 1. เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในชุมชน -เฝ้าระวัง ≠ สายสืบ -เฝ้าระวัง = ดูแล เอาใจใส่ -ค้นหา ชักชวน จูงใจผู้ป่วยเสพติดเข้าสู่ ระบบการบำบัดรักษา
บทบาท อสม. กับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน 2. การติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่าน การบำบัด -ป้องกันการเสพติดซ้ำ “กลุ่มปัญญาสังคม” -ดูแลช่วยเหลือ “คุณภาพชีวิต”
การติดตามการรักษา เป็นการติดตาม ดูแล ผู้ติดยาเสพติดที่ได้รับการบำบัดรักษาและคืนสู่ครอบครัว โดยให้การช่วยเหลือประคับประคอง ให้คำแนะนำ เสริมกำลังใจ ทั้งผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อให้ผู้ติดยา เสพติดที่รักษาหายแล้วสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ตามปกติ โดยไม่กลับไปเสพยาเสพติดอีก ระยะนี้ใช้เวลา 1 ปี
วัตถุประสงค์ 1. ทราบผลการบำบัดรักษา 2. ป้องกันการเสพซ้ำ โดยให้คำปรึกษา ช่วยเหลือและให้กำลังใจต่อเนื่อง 1 ปี 3. รายงานผลการดำเนินงาน
วิธีการติดตาม ทางตรง - เยี่ยมบ้าน/ที่ทำงาน/สถานศึกษา - นัดมาพบ - สอบถามจากคนใกล้ชิด - จดหมาย - โทรศัพท์ ทางอ้อม
ขั้นตอนการติดตาม 1. รวบรวมรายชื่อผู้ผ่านการบำบัดทั้งหมดในเขตที่รับผิดชอบ 2. ประชุมวางแผนร่วมกับทีมงาน 3. ชี้แจงให้ครอบครัว / ชุมชนทราบ 4. ดำเนินการติดตาม 1 ปี จำนวน 7 ครั้ง 5. บันทึกผลการติดตาม ตามแบบ บสต.5
กิจกรรมในการติดตาม 1. สังเกตอาการ/พฤติกรรม 2. พูดคุย / ให้คำปรึกษา / ให้กำลังใจ 3. ให้ความรู้ - การดูแลสุขภาพกาย - การดูแลสุขภาพจิต - การเลิกยา 4. ประสานงานกับ รพช. / รพ.สต. ในกรณีเสพซ้ำ 5. บันทึกข้อมูลในแบบ บสต.5
บสต.5 (ปกปิด) 5 4 1 1 9 7 2 3 5 5 5 5 3 แบบฟอร์ม การติดตามการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด กลุ่ม อสม. รพ.สต. บ้านไร่นา หน่วยงานที่ติดตาม / ที่ตั้ง ………………………………………………. หน่วยงานที่บำบัดรักษา / ที่ตั้ง ………………………………………….. ชื่อ-สกุล (ผู้ป่วย) …………………………………….อายุ………. ปี เลขประจำตัวประชาชน การศึกษา (ปัจจุบัน)………………………………………………... อาชีพ (ปัจจุบัน)……………………………………………………. ที่อยู่ (สามารถติดต่อได้)………………………………………………. บุคคลในครอบครัวที่ให้ความช่วยเหลือ………………………………….. รพ.บ้านไร่ อ. บ้านไร่ นายสมชาย ใจเป็นแต๋ว 25 ปริญญาตรี วิจัยฝุ่น 11/22 หมู่ 8 ต. บ้านไร่ อ. บ้านไร่ จ. กาญจนบุรี พี่ชาย (นายทำไม ใจเป็นแต๋ว )
บสต.5 (ปกปิด) ผลการตรวจ ปัสสาวะ สัมพันธ์ ในครอบครัว การติดตาม วิธีการติดตาม สภาพร่างกาย สภาพจิตใจ x แข็งแรง อ่อนแอ เจ็บป่วย/ ทรุดโทรม ร่าเริง/ แจ่มใส ซึมเศร้า แยกตัว ก้าวร้าว ยอมรับ/ ช่วยเหลือ อยู่ร่วมกันได้ ไม่ยอมรับ มาพบที่หน่วยงาน จดหมาย, โทรศัพท์ เยี่ยมบ้าน พบสารเสพติด ไม่พบสารเสพติด ไม่ได้ตรวจ ครั้งที่ 1 (2 สัปดาห์ หลังรักษา) วันที่……. …………. ผู้ติดตาม ………….. ………….. ตำแหน่ง ………….. ………….. ………….. x x x x 9 มิ.ย. 2546 นายแสนดี มีชัย สัมพันธภาพ ในชุมชน การใช้ สารเสพติด ปัญหา/ การช่วยเหลือ สมรรถภาพ x x ครอบครัวไม่ยอมรับ ไม่ไว้วางใจ / ให้คำแนะนำครอบครัว อาสาสมัคร สาธารณสุข หมู่บ้าน ยอมรับและ ช่วยเหลือ อยู่ร่วมกันได้ ไม่ยอมรับ ไม่ใช้ ใช้ 1-2 ครั้ง/ สัปดาห์ ใช้มากกว่า 2 ครั้ง/สัปดาห์ ประกอบอาชีพ/เรียนหนังสือได้ปกติ ประกอบอาชีพ/เรียนหนังสือได้บ้าง ประกอบอาชีพ/เรียนหนังสือไม่ได้ x
บสต.5 (ปกปิด) สรุปผลการติดตาม ครั้งที่ 1 X อดได้/เลิกได้ ส่งต่อ ระบุที่ส่ง………… ถูกจับ ขาดการติดตาม เสียชีวิต อื่นๆ (ระบุ)…. เสพซ้ำ
สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงรับสั่งว่าสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงรับสั่งว่า “ คนที่ติดยาเขาเป็นคนหรือเปล่าในเมื่อเขาเป็นคน...เรามีการช่วยเหลือเขาได้ไหมถ้าช่วยเหลือเขาได้เท่ากับชุบชีวิตใหม่ให้เขา...เราก็ควรทำ ”