220 likes | 324 Views
ประชุมเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ Service Plan เพื่อเตรียมรับการนิเทศ. วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุม ๒ ชั้น ๕ โรงพยาบาลยโสธร. วิสัยทัศน์กระทรวงสาธารณสุข : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน.
E N D
ประชุมเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ Service Planเพื่อเตรียมรับการนิเทศ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุม ๒ ชั้น ๕ โรงพยาบาลยโสธร
วิสัยทัศน์กระทรวงสาธารณสุข: ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน
๓ ยุทธศาสตร์ ๑ ยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ๒. ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ๓. ยุทธศาสตร์ที่ 3 :พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการระบบสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย การเข้าถึงบริการ 1.ลดความแออัด และเวลารอคอย 2. ส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50) 3. ร้อยละของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน(STEMI) ได้รับยาละลายลิ่มเลือด และ/หรือ การขยายหลอดเลือดหัวใจ (70)
ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย กลุ่มระบบบริการ ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 50)
STEMI หัวใจ 1. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ได้รับการรักษาด้วยการเปิดเส้นเลือดด้วยการให้ยา Fibrinolytic Agent หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน หรือได้รับการส่งต่อเพื่อให้ยาละลายลิ่มเลือด/ทาบอลลูนขยายเส้นเลือดเท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 50 ในปี 2556 และมากกว่า 80% ในปี 2558 2. ผู้ป่วย STEMI เสียชีวิต เท่ากับหรือน้อยกว่า ร้อยละ 10 ในปี 2558 (Hos. Base)
ไต ไต 1.มี CKD Clinic ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไปเป็นอย่างน้อยใน 1 ปี และพัฒนาดีขึ้นตามลำดับ 2.คิวบริการ HD, CAPD มีบริการอย่างไม่มีคิวใน 3 ปี
Stroke หลอดเลือด 1. มีStroke Unit ทุก รพ. ระดับ A เป็นอย่างน้อย และ รพ. ระดับS ที่พร้อม 2. ระดับ S ,M1 ทุก รพ. สามารถให้ Thrombolytic agent ได้ใน 1 ปี และมีจำนวนผู้ป่วยมากขึ้นตามลาดับทุกปี
Surgery 1.มีการกระจายการผ่าตัดผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ ออกจาก รพศ.(A) ไปยัง รพ.ในเครือข่ายที่เครือข่ายเป็นผู้กำหนด >50% ใน 2 ปี
๑. สถานการณ์โรค - ปัญหาขอบเขต โซนเขตบริการ “ไทยเจริญ /นิคมคำสร้อย/ดอนตาล” ๒. ข้อมูลด้านบริการ แยกรายอำเภอ “กุดชุม/ไทยเจริญ/ดอนตาล” ๓. จุดเน้น - ไต (ดึงข้อมูลรายอำเภอ CKD) - CAPD - ศัลยกรรม (รพร.จะทำส่วนใหนได้ ) - ไต Stemi/stroke คุณหมอไก่ (สามารถเปิดบริการ คนไข้ประมาณ ๕๐ ราย) ทีมแพทย์อบรม ๒ คน จัดตั้งคลินิก ปัญหา สัญญาเดิมหมด
STEMI - การให้ SK กำลังประเมินสถานการณ์ -
Stroke - คุณหมอโป้ง คนไข้ ที่มีอาการ โอกาสได้ยา ต้องได้ยาจาก รพ.ยโสธร ต้องดูระยะเวลา
ศักยภาพ • การมองภาพที่เชื่อมโยง ระหว่าง รพท. /รพ.แม่ข่าย • STEMI ประชุม ๒ รอบ
การขับเคลื่อน Service Plan ยโสธร • ดูที่ศักยภาพของ แพทย์เชี่ยวชาญ แผนพัฒนา Service plan
ข้อมูลที่นำเสนอ • ภาพรวมระดับจังหวัด • ภาพรวม node (รพร.เลิง) • การขอรับการสนับสนุน
รพป่าติ้ว ดำเนินการไปบางส่วน ให้ตาม cpg • CKD
ความไม่ชัดเจนในแต่ละสาขา (โจทก์) • การจัดทำแผนพัฒนาใน ปี ๕๗ - แผนรายสาขา - แผนรวม • เป้าหมายตัวชี้วัดร่วมกัน • แผนเยี่ยมของจังหวัด • การบริหารจัดการร่วม
Stroke - การบริหารจัดการ ไม่มีงบประมาณ - ทีมงานมีความอยากทำ มีความภาคภูมิใจ แต่….. • ปัญหาความล่าช้าของงบประมาณ เลขาคณะเชี่ยวชาญติดตาม (แผนพัฒนาที่ชัดเจน) • แผนการพัฒนาบุคลากรของเขต • แผนพัฒนาภาพจังหวัด • ระบบการให้คำปรึกษา ระหว่าง รพ.ยส/ลูกข่าย การซื้อเครื่องมือสื่อสาร
ข้อมูลที่มีตาม service plan • ระบบเครื่องมือ น่าจะมีทุกแห่ง ช่องทางการบริหารจัดการระหว่างแม่ข่าย/ลูกข่าย (ภาระงานที่เพิ่มขึ้น) • เอ็กซเรย์ • กันงบส่งเสริม/ป้องกันเพื่อให้เครือข่ายได้ดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ • ระบบส่งต่อ ใบรีเฟอร์ • กรณี CASE ด่วน /กรณี CASE เรื้อรัง • ข้อตกลงร่วมระบบ DATA CENTER (การแก้ปัญหาการรับรู้ข้อมูล)
ประเด็น • การจัดทำแผนภาพรวม (สัปดาห์ที่ ๒ ของเดือน มค.) • การจัดทำแผนแยกรายสาขา • แผนการเยี่ยม รพท.เยี่ยมทุก รพช อย่างน้อย ๑ ครั้ง • การบริหารจัดการร่วม
อื่น ๆ • การนิเทศของ สปส. ตัวเชื่อมการพัฒนาของจังหวัดเรา • รพ.ทรายมูล มีหมอ med