880 likes | 2.66k Views
Strategic Plan Action Plan. การวางแผนกลุทธ์และแผนปฏิบัติการ ตามแนวเกณฑ์ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA / TQA พ.ศ. 2548. ศุภชัย เมืองรักษ์ Center of Excellence Thailand Productivity Institute. Strategic Plan Action Plan.
E N D
Strategic Plan Action Plan การวางแผนกลุทธ์และแผนปฏิบัติการ ตามแนวเกณฑ์ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA / TQA พ.ศ. 2548 ศุภชัย เมืองรักษ์ Center of Excellence Thailand Productivity Institute
Strategic Plan Action Plan วงจรการพัฒนา 9 ขั้นตอน หา ความต้องการ ผู้มีส่วนได้เสีย 1 ปรับปรุงงาน อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้เกิด การปรับปรุง 9 2 วัดและประเมินผล การดำเนินงาน ประเมินสภาพ องค์การในปัจจุบัน 8 3 ปฏิบัติตามแผน ปฎิบัติการ วางแผนกลยุทธ์ ระยะสั้นและยาว 7 4 6 5 เสริมศักยภาพ ภายในองค์การ วางแผนปฏิบัติ การประจำปี
Strategic Plan Action Plan องค์กรที่มีสมรรถนะสูงมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงตัวเอง จาก…สู่… การควบคุม การสร้างความเชื่อมั่น การผลิตสินค้า การผลิตความรู้ การตัดสินใจด้วยคนคนเดียว การตัดสินใจโดยทีมงาน รางวัลมุ่งเน้นพนักงานเป็นรายบุคคล รางวัลมุ่งเน้นทีมงาน โครงสร้างองค์กรมุ่งเน้นการสั่งการจากบน โครงสร้างองค์กรมุ่งเน้นการทำงานเป็นกระบวนการ โครงสร้างที่ตายตัว โครงสร้างที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ องค์กรมีกำแพงระหว่างหน่วยงาน องค์กรไม่มีกำแพงระหว่างหน่วยงาน การเก็บข้อมูลธุรกิจเป็นความลับ การเปิดเผยข้อมูลธุรกิจให้พนักงานรับรู้ การตำหนิและการปรับปรุงมุ่งที่พนักงาน การหาข้อผิดพลาดและการปรับปรุงกระบวนการ
Strategic Plan Action Plan ลักษณะโดยรวมของการบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารงานประจำวัน คลุมเครือ ซับซ้อน ครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร เน้นหลักการ มุ่งเน้นสัมฤทธิผลในระยะยาว ชัดเจน มุ่งเน้นงานในระดับปฏิบัติการ มุ่งเน้นผลสำเร็จในระยะสั้น
Strategic Plan Action Plan กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ กระบวนการวางแผนทั่วไป • ไม่พิจารณาข้อเท็จจริง • ฉาบฉวยไม่เจาะจง • ไม่ทลายอุปสรรค • สับสนวกวน • เน้นหนักเปลี่ยนแปลงแต่ขาดการสนับสนุน • ใช้ข้อมูลจริง • มุ่งเน้นสิ่งสำคัญๆ • ตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง • จัดลำดับอย่างเหมาะสม • เน้นการทำงานร่วมกัน • เน้นหนักในความน่าเชื่อถือ
Strategic Plan Action Plan การปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด การปรับปรุงทั่วไป การปรับปรุง การปรับปรุงทีละน้อยการบริหารงานประจำวัน เวลา
Strategic Plan Action Plan การปรับปรุงทั่วไป การปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด • เน้นผลการดำเนินงานและการทบทวนการบริหารงานประจำวันที่จำเป็น • เป็นรากฐานของธุรกิจและการปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด • การทบทวนกระบวนการใช้ Action Limit (ขอบเขตความแปรปรวนของผลลัพธ์) เพื่อช่วยในการจัดการความผิดปกติ โดยมีการวิเคราะห์หาสาเหตุและกำหนดวิธีการแก้ไข • อาศัยความร่วมมือของพนักงานทั่วทั้งองค์กร • เป็นเป้าหมายที่ตั้งไว้สูงที่การปรับปรุงทีละน้อยไม่สามารถบรรลุได้ แต่ไม่เกินการมองเห็นของผู้บริหาร • มุ่งเน้นวัตถุประสงค์สำคัญๆ 1-5 ข้อโดยทุกระดับในองค์กรต้องมีวิธีการรองรับ
Strategic Plan Action Plan ทบทวนสภาพ ภายนอก ทบทวนสภาพ ภายใน ทบทวนผล งานในอดีต กำหนดกลยุทธ์หลัก คาดการณ์อนาคต วิเคราะห์สภาพ ภายนอก วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ตรวจประเมินองค์กร กรอบกลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ - Pest Analysis Impact Analysis - Self Assessment - TQA Roadmap - Strategy Map - Performance Projection - Roadmap - SWOT Analysis - Vision/Mission - Corporate Objectives - Balanced Scorecard - Gap Analysis
Strategic Plan Action Plan 1 เตรียมการ 2วางแผน 3 ดำเนินการ 4 ทบทวน 1.1 ก่อตั้งโครงการ 1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ 1.3 ประเมินสภาพองค์กร 2.1 แผนการกลยุทธ์การพัฒนา ความสามารถ 2.2 แผนการปรับปรุงกระบวนการ 2.3 แผนปฏิบัติการในด้านต่างๆ 3.1 กำหนดทีมงาน 3.2 ถ่ายทอดสู่หน่วยงานย่อย3.3 ปรับเปลี่ยนกระบวนการ 4.1 ประเมินสภาพองค์กรใหม่ 4.2 นำเสนอผู้บริหาร
Strategic Plan Action Plan 1 เตรียมการ 1.1 ก่อตั้งโครงการ เสริมสร้างการตระหนักในเรื่องคุณภาพ กำหนดขอบเขตของโครงการ กำหนดคณะทำงาน 1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดค่านิยมพื้นฐาน 1.3 ประเมินสภาพองค์กร สัมภาษณ์ผู้บริหาร/พนักงาน สำรวจบรรยากาศ องค์กร จัดทำคลังทักษะ การจัดการ วิเคราะห์ กระบวนการหลัก สำรวจความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน สำรวจ กระบวนการโดยรวม วิเคราะห์วิธีการตัดสินใจ สำรวจสภาพธุรกิจ โดยรวม เปรียบเทียบกับองค์กรภายนอก จัดทำรายงานการประเมินธุรกิจ วิเคราะห์ สภาพทางการเงิน
Strategic Plan Action Plan 2 วางแผน 2.1 แผนการกลยุทธ์การพัฒนาความสามารถขององค์กร ประเมิน สภาพแวดล้อม ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา กำหนดหัวข้อ กลยุทธ์คุณภาพ จัดทำแผนกลยุทธ์ 2.2 แผนการปรับปรุงกระบวนการ ระบุปัจจัยสู่ ความสำเร็จ กำหนดเงื่อนไขใน การจัดตั้งทีมงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ จัดลำดับกระบวนการ
Strategic Plan Action Plan 3ดำเนินการ 3.1 กำหนดทีมงาน กำหนดสมาชิกของทีมกระบวนการ กำหนดหลักการของ ทีมกระบวนการ กำหนดสิ่งที่จะ ปรับปรุง กำหนดเจ้าของกระบวนการ 3.2 ถ่ายทอดสู่หน่วยงานย่อย กำหนดบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำหนดสิ่งที่จะ ปรับปรุง ระดมการสนับสนุน 3.3 ปรับเปลี่ยนกระบวนการ วัดผลกระบวนการ ปรับปรุงกระบวนการ กำหนดกระบวนการ วิเคราะห์กระบวนการ ควบคุมกระบวนการ
Strategic Plan Action Plan 4 ทบทวน 4.1 ประเมินสภาพองค์กรใหม่ สรุปประเด็นปัญหา ที่พบเห็น จัดลำดับความสำคัญของปัญหา ประเมินสาเหตุ ของปัญหา ปรับแผนกลยุทธ์
Strategic Plan Action Plan 1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 2 การจัดวางทิศทางขององค์กร กระบวนการบริหาร เชิงกลยุทธ์ 3 การกำหนดแผนกลยุทธ์ 4 การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ 5 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ ระบบการ รายงานผล การวิเคราะห์กลยุทธ์ ทบทวนสภาพภายนอก การดำเนินกลยุทธ์ ทบทวนสภาพภายใน ทบทวนผลงานในอดีต วางแผน ระยะยาว/กลาง วางแผน ระยะสั้น ดำเนินการ ตามแผน ติดตามและ ควบคุม เตรียมการ คาดการณ์อนาคต กำหนดกลยุทธ์ การตัดสินใจ ของผู้บริหาร การเลือกกลยุทธ์
Internal environment External environment Vision Shared Values Mission Core Competency KPIs KPIs Program KPIs Project KPIs Activity Past Performance Strategic Plan Action Plan Purpose Organization Objective KPIs 1 2 3 4 ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี Strategic Goals
Strategic Plan Action Plan เปลี่ยนได้ วิสัยทัศน์ ทักษะ แรงจูงใจ ทรัพยากร แผนปฏิบัติการ ทักษะ แรงจูงใจ ทรัพยากร แผนปฏิบัติการ สับสน วิสัยทัศน์ แรงจูงใจ ทรัพยากร แผนปฏิบัติการ กังวล วิสัยทัศน์ ทักษะ ทรัพยากร แผนปฏิบัติการ ทำแล้วเลิก ขัดข้องใจ วิสัยทัศน์ ทักษะ แรงจูงใจ แผนปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ ทักษะ แรงจูงใจ ทรัพยากร เริ่มผิดทาง
Strategic Plan Action Plan PEST Analysis การเมือง - กฎหมายป้องกันการผูกขาด - กฎหมายรักษาสิ่งแวดล้อม - ภาษี - กฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศ - พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน - เสถียรภาพของรัฐบาล สังคม - โครงสร้างประชากร - การกระจายรายได้ - การเคลื่อนย้ายทางสังคม - รูปแบบการดำเนินชีวิต - ท่าทีต่อการการทำงานและการพักผ่อน - ลัทธิบริโภคนิยม - ระดับการศึกษา เศรษฐกิจ วัฏจักรธุรกิจ - ระดับรายได้ประชาชาติ - อัตราดอกเบี้ย - สภาพคล่องในประเทศ - อัตราเงินเฟ้อ - อัตราการว่างงาน - ระดับรายได้ของประชากร - ราคาน้ำมันเชื่อเพลิง เทคโนโลยี - งบประมาณของประเทศในงานวิจัย - นโยบายภาครัฐต่อการพัฒนาเทคโนโลยี - นวัตกรรมใหม่ๆ - ระดับการถ่ายทอดเทคโนโลยี - ระดับความทันสมัยของเทคโนโลยี
Strategic Plan Action Plan ตาราง 1: ทบทวนสภาพภายนอก 1 2 3 4 ตัวแปร สถานการณ์ ผลกระทบ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์
Strategic Plan Action Plan TQA Criteria ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ( ควรพิจารณาระดับ area to address ) Category ผลกระทบ (ระดับ Item / Area) หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 วิเคราะห์หา สาเหตุของ item ที่มีคะแนนต่ำ หมวด 6 หมวด 7
Strategic Plan Action Plan 1 2 3 ผลต่างของเป้าหมาย ระดับ (ค่า KPI) ความท้าทาย เชิงกลยุทธ์ เป้าหมาย ปัญหาและสาเหตุ ปีเป้าหมาย ระยะ % ผลลัพท์ ผลต่าง วิเคราะห์หาสาเหตุ ด้วยผังก้างปลา โดยดูทั้งปัจจัยภายใน และภายนอก นำปัจจัยภายใน มากำหนดทางแก้ เป็นความท้าทาย เชิงกลยุทธ์
Strategic Plan Action Plan Cause & Effect Diagram 1
Strategic Plan Action Plan ผังก้างปลา 1. สาเหตุ 2. สาเหตุ 5. สาเหตุ ปัญหา 3. สาเหตุ 4. สาเหตุ 6. สาเหตุ
Strategic Plan Action Plan ผังก้างปลา 1. สาเหตุ 2. สาเหตุ 5. สาเหตุ ปัจจัยภายใน (TQA 6 หมวด) ปัญหา 3. สาเหตุ 4. สาเหตุ 6. สาเหตุ ปัจจัยภายนอก (PEST)
ตาราง : สรุป ความท้าทาย ใน 4 มุมมอง 1 2 3 4 เป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ได้รับการรับรอง HA เป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ เป็นโรงพยาบาล สมรรถนะสูง Goals (4 years) หมายเหตุ : รวบประเด็นเป็นระดับ ITEM 4 มุมมอง ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ (จากตาราง 1-2-3) ลูกค้า การเงิน 1 จำแนก ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ไปตาม 19 items 2 ระบุลงในกรอบของ bsc แต่ละมุมมองทั้ง 4 กระบวนการ การเรียนรู้
Strategic Plan Action Plan Balanced Scorecard BSC
Strategic Plan Action Plan Financial Measures Non-Financial Measures Lag Indicators Lead Indicators
Strategic Plan Action Plan มิติด้านการเงิน เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ องค์กรควรมีผลการดำเนิน งานอย่างไรในสายตาผู้ถือหุ้น มิติด้านลูกค้า มิติด้านกระบวนการภายใน วิสัยทัศน์ และ พันธกิจ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ องค์กรควรจะตอบสนองลูกค้าอย่างไร เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ กระบวนการบริหารอะไรที่เป็นเลิศ มิติด้านการเรียนรู้และเติบโต เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ ทำอย่างไรองค์กรจึงจะมีความ สามารถที่จะเปลี่ยน & พัฒนาเพื่อความยั่งยืน
Strategic Plan Action Plan Strategy Maps
Long-Term Stakeholder Value Financial 7. 3 - 7. 6 ผลลัพธ์ขององค์กร Customer 7.1-7.2 ผลลัพธ์ด้านสินค้าและบริการ / ลูกค้าและตลาด Internal Process 3.การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด 6.การจัดการกระบวนการ Learning/Growth 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์และ การจัดการความรู้ 1.การนำองค์กร 2.การวางแผนเชิงกลยุทธ์
Kaplan&Norton Long-Term Shareholder Value Financial Productivity Revenue Growth Customer Product/Service Attributes Relationship Image Internal Process Manage Operations Manage Customers Manage Innovation Manage Regulatory/Social Learning/Growth Human Capital Information Capital Organization Capital
BSC & TQA Criteria 2004 Financial 7.3 ผลลัพธ์ด้าน การเงินและตลาด 7.4 ผลลัพธ์ด้าน ทรัพยากรบุคคล 7.5 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิผล ขององค์กร 7.6 ผลลัพธ์ด้าน บรรษัทภิบาลและ ความรับผิดชอบ ทางสังคม Results Customer 7.1 ผลลัพธ์ด้าน การมุ่งเน้น ลูกค้า 7.2 ผลลัพธ์ด้าน ผลิตภัณฑ์และ บริการ Internal Process System 3.2 ความสัมพันธ์ กับลูกค้า 4.2 สารสนเทศและ องค์ความรู้ 6.1 กระบวนการ สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการ สนับสนุน Learning/Growth Driver 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้และ แรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและ ความพึงพอใจ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ลูกค้าและตลาด 4.1 การวัดและ วิเคราะห์ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 2.1 การจัดทำ กลยุทธ์ 2. 2 การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ
กรมอนามัย Vision & Mission & Core Values 1 2 3 4 Goals (4 years) C1 C2 C3 ประสิทธิผล Results F1 F2 F3 คุณภาพ P1 P2 ประสิทธิภาพ System L1 L2 L3 การพัฒนาองค์กร Driver
Strategic Plan Action Plan ตาราง : คาดการณ์อนาคต ระดับเป้าหมาย วัตถุประสงค์/ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ประเด็นกลยุทธ์ หน่วยชี้วัด เจ้าของงาน ระยะกลาง ระยะยาว ปัจจุบัน ระยะสั้น
Vision / Mission / Core values กรมอนามัย เป้าหมายระยะ 4 ปี Stakeholder (Customer) 7.1 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิผล ด้านประสิทธิผล Results Productivity (Financial) 7.2 ผลลัพธ์ด้าน คุณภาพ 7.3 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิภาพ 7.4 ผลลัพธ์ด้าน การพัฒนาองค์กร ด้านคุณภาพ Internal Process System 3.2 ความสัมพันธ์ กับลูกค้า 4.2 สารสนเทศและ องค์ความรู้ 6.1 กระบวนการ สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการ สนับสนุน ด้านประสิทธิภาพ Learning / Growth Driver 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้และ แรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและ ความพึงพอใจ ด้านการพัฒนาองค์กร 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ลูกค้าและตลาด 4.1 การวัดและ วิเคราะห์ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 2.1 การจัดทำ กลยุทธ์ 2. 2 การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ
Financial Perspective Customer Perspective Measures Objectives Initiatives Strategic Plan Action Plan BSC Learning Perspective Process Perspective Strategy: Our Approach To Accomplishing Our Mission วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ หน่วยชี้วัด ประเด็นกลยุทธ์
Strategic Plan Action Plan วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ หน่วยชี้วัด ประเด็นกลยุทธ์ Perspectives Objectives Measures Initiatives Section Department Team / Individual
Action Plan O = owner ตาราง : OS Matrix S = supporter มุมมอง วัตถุประสงค์ บทบาทของหน่วยงาน ( กลุ่ม/ฝ่าย แผนก/งาน ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลูกค้า C1 ประชาชน สุขภาพดี O S O O O O S O S O C2 C3 C4
Action Plan O = owner ตาราง : OS Matrix S = supporter มุมมอง วัตถุประสงค์ บทบาทของหน่วยงาน ( กลุ่ม/ฝ่าย แผนก/งาน ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 O S O O O O S O S O 2 O 3 เป็นการแสดงความรับผิดชอบในวัตถุประสงค์นั้น และถือว่ามี S ฝังอยู่ด้วยแล้ว 4 5 6 7
Action Plan ตาราง : Objective Deployment ระดับองค์กร วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ ระดับหน่วยงาน (กลุ่ม/ฝ่าย แผนก/งาน) 1 วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ 2 1 ระดับบุคคล 3 2 วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ 4 3 1 5 4 2 6 5 3 7 6 4 7 5 6 7
Customer Perspective Measu Objectives Initiatives Action Plan ขั้นตอนการทำ BSC ในแต่ละระดับ • ขั้นตอนการทำ • กำหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับภาระกิจ • วิเคราะห์สาเหตุ ของปัญหา (ก้างปลาหรือต้นไม้) • เลือกสาเหตุที่สำคัญ • หาทางแก้ไข • นำทางแก้ไขมาเป็นประเด็นกลยุทธ์ • กำหนด ตัวชี้วัด ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 1 2 3
Action Plan Objective Deployment ระดับ กลุ่ม/ฝ่าย ระดับ แผนก/งาน ระดับ บุคคล วัตถุประสงค์ หน่วยชี้วัด ประเด็นกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ หน่วยชี้วัด ประเด็นกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ หน่วยชี้วัด ประเด็นกลยุทธ์
Action Plan ตาราง : ระดับฝ่าย Objective Matrix X = support มุมมอง วัตถุประสงค์ ประเด็นกลยุทธ์ ( ระดับหน่วยงาน : แผนก งาน บุคคล ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 x 2 x 3 x x 4 x 5 x 6 x 7
Action Plan ตาราง : ระดับองค์กร Objective Matrix X = support มุมมอง วัตถุประสงค์ ประเด็นกลยุทธ์ ( ระดับหน่วยงาน : กลุ่ม ฝ่าย ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 x 2 x ขั้นตอน การปรับ กลุ่มประเด็นกลยุทธ์ ของทุกฝ่ายเข้าด้วยกัน (อาจใช้หัวข้อ Item / Area ได้) 3 x x 4 x 5 x 6 x 7
Action Plan มุมมอง วัตถุประสงค์ ประเด็นกลยุทธ์ ( ระดับหน่วยงาน : กลุ่ม ฝ่าย ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 x 2 x ขั้นตอนต่อไป เป็นการปรับ กลุ่มประเด็นกลยุทธ์ ให้กลายเป็น แผนงาน/โครงการ 3 x x 4 x 5 x 6 x 7
Action Plan มุมมอง วัตถุประสงค์ ประเด็นกลยุทธ์ ( ระดับหน่วยงาน : กลุ่ม ฝ่าย ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 x 2 x ขั้นตอนต่อไป เป็นการทำ แผนงาน/โครงการ ของแต่ละ ฝ่าย แผนงานโครงการ ของฝ่าย 3 x x 4 x 5 x 6 x 7
Action Plan 17 ITEMS : PMQA Criteria 2004 การจำแนกกลุ่มของแผนโครงการ ระดับฝ่าย 1 3 5 9 14 16 7 12 1.1 การนำองค์กร 2.1 การจัดทำ กลยุทธ์ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ลูกค้าและตลาด 4.1 การวัดและ วิเคราะห์ 5.1 ระบบงาน 6.1 กระบวนการ สร้างคุณค่า 7.1 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิผล 7.3 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิภาพ 2 4 17 6 8 10 13 15 7.4 ผลลัพธ์ด้าน การพัฒนาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 2. 2 การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ 3.2 ความสัมพันธ์ กับลูกค้า 4.2 สารสนเทศและ องค์ความรู้ 5.2 การเรียนรู้และ แรงจูงใจ 6.2 กระบวนการ สนับสนุน 7.2 ผลลัพธ์ด้าน คุณภาพ 11 5.3 ความผาสุกและ ความพึงพอใจ
Action Plan 13 ITEMS : PMQA Criteria 2004 การจำแนกกลุ่มของแผนโครงการ ระดับฝ่าย แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ แผนงาน โครงการ 1.1 การนำองค์กร 1 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ลูกค้าและตลาด 5.1 ระบบงาน 9 5 2 1.2 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 3.2 ความสัมพันธ์ กับลูกค้า 5.2 การเรียนรู้และ แรงจูงใจ 10 6 3 2.1 การจัดทำ กลยุทธ์ 4.1 การวัดและ วิเคราะห์ 5.3 ความผาสุกและ ความพึงพอใจ 11 7 4 2. 2 การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ 4.2 สารสนเทศและ องค์ความรู้ 6.1 กระบวนการ สร้างคุณค่า 12 8 6.2 กระบวนการ สนับสนุน 13
Action Plan ตาราง : Program - Project form มุมมอง / วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 1 ประเด็นกลยุทธ์ / แผนงาน โครงการ / โครงการย่อย ตัววัด / เป้าหมาย กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา งบประมาณ การประเมินผล
Action Plan ตาราง : Program - Project form ควรมีการทำ ตารางภาพรวมของ แผนงานโครงการด้วย มุมมอง / วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 1 ประเด็นกลยุทธ์ / แผนงาน โครงการ ตัววัด / เป้าหมาย กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา งบประมาณ การประเมินผล