1 / 49

การจัดการความรู้ Knowledge Management Systems

การจัดการความรู้ Knowledge Management Systems. ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. Course Outline. Chapter 1 : Introduction Chapter 2 : Knowledge Management in Organization Chapter 3 : Learning from Best Practices

arlais
Download Presentation

การจัดการความรู้ Knowledge Management Systems

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้Knowledge Management Systems ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  2. Course Outline Chapter 1 : Introduction Chapter 2 : Knowledge Management in Organization Chapter 3 :Learning from Best Practices Chapter 4 : Knowledge Management in Action Chapter 5 : KM Project Management Chapter 6 : Analyze the Existing Infrastructure Chapter 7 : Align Knowledge Management and Business Strategy Chapter 8 : Design the Knowledge Management Infrastructure Knowledge Management

  3. Course Outline Chapter 9 : Audit Existing Knowledge Assets and Systems Chapter 10 : Design the Knowledge Management Team Chapter 11 : Create the Knowledge Management Blueprint Chapter 12 : Develop the Knowledge Management System Chapter 13 : Deploy, Using the Results-driven Incremental Methodology Chapter 14 : Manage Change, Culture and Reward Structures Chapter 15 : Evaluate Performance, Measure ROI, and Incrementally Refine the KMS Knowledge Management

  4. Chapter 1 Introduction Knowledge Management

  5. ความรู้คืออะไร? Knowledge Management

  6. What is Knowledge ? The sum of what is known : a body of truths, principles, and information that, in a business context, guide operation. ผลสรุปของสิ่งที่รู้ เป็นเนื้อหาของความจริง หลักการ และสารสนเทศในทางธุรกิจ เป็นแนวทางในการปฏิบัติ (American Society for Training and Development) Knowledge Management

  7. What is Knowledge ? Knowledge is of two kinds. We know subject ourselves, or we know where we can find information on it. ความรู้มี 2 ประเภท ได้แก่ สิ่งที่เรารู้อยู่แล้ว หรือ เรารู้ว่าเราจะสามารถหาสารสนเทศได้ที่ไหน (Samuel Johnson) Knowledge Management

  8. ชนิดของความรู้ • วัตถุ • ทักษะ • กฎแห่งสามัญสำนึก • ประสบการณ์เป็นความรู้ที่ฝึกฝน • พรสวรรค์ Knowledge Management

  9. ประเภทของความรู้ ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู้ (Knowledge) 1. โดยนัย (Tacit) 2. ชัดเจน (Explicit) Knowledge Management

  10. ปฏิบัติ ปัญญา (Wisdom) ความรู้ (Knowledge) สารสนเทศ (Information) ข้อมูล (Data) Knowledge Management

  11. ความรู้...แห่งชีวิต....... • แสงสว่างเสมอด้วย....ปัญญาไม่มี...... • สังคมสารสนเทศ (Information Society) • สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Society) Knowledge Management

  12. ความรู้ยุคที่ 1 • นักวิชาการ • ความรู้เฉพาะสาขา • เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ • เน้นข้อมูลที่อยู่ในตำรา Knowledge Management

  13. ความรู้ยุคที่ 2 • โดยผู้ปฏิบัติ • เน้นประสบการณ์ตรง • เน้นผลลัพธ์ที่งาน และ คน • เป็นความรู้แบบบูรณาการ • เน้นที่ทักษะความสามารถของคน Knowledge Management

  14. Explicit Knowledge EK ความรู้ในตำรา ความรู้ที่ปรากฎชัดแจ้ง Tacit Knowledge TK ความรู้ในคน ความรู้โดยนัย รูปแบบความรู้ Knowledge Management

  15. รูปแบบของความรู้ • คน Employee Brains 52% • เอกสารกระดาษ Paper Document 26% • เอกสารอิเลกทรอนิกส์ • Electronic Document 20% • Email, CD 12% Knowledge Management

  16. ล้าสมัยเร็ว ภายนอกองก์กร ความรู้ การบริหารความรู้ งาน คน ภายในองก์กร Knowledge Management

  17. ความหมายของการจัดการความรู้ความหมายของการจัดการความรู้ • การบริหารจัดการองค์กรเพื่อมุ่งไปสู่การสร้างฐานความรู้ แห่งองค์กรใหม่อย่างต่อเนื่อง • การสร้างองค์การที่ให้การสนับสนุนความรู้ • การอำนวยความสะดวกให้กับสมาชิกที่อยู่ในองค์กร • การสร้างเครื่องมือทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • การให้ความสำคัญกับการทำงานเป็นทีม • [Bertel, Thomas] Knowledge Management

  18. What is Knowledge Management? Knowledge management is the leveraging of knowledge in an organization for purpose of capitalizing on intellectual capital. การจัดการความรู้คือการนำความรู้ขององค์กรมาจัดระดับการทำประโยชน์เพื่อเป็นต้นทุนทางปัญญา (American Society for Training and Development) Knowledge Management

  19. What is Knowledge Management? Systematic approaches to help information and knowledge emerge and flow to the right people at the right time to create value. ระบบวิธีการที่ช่วยให้สารสนเทศและความรู้เกิดขึ้น และมีการถ่ายทอดไปยัง บุคคลต่างๆที่เหมาะสม ในเวลาที่เหมาะสม เพื่อทำให้เกิดคุณค่า (The American Productivity and Quantity Center) Knowledge Management

  20. What is Knowledge Management? Focuses on how an organization identifies, creates, captures, acquires, shares and leverages knowledge. Systematicprocesses support these activities, also enabling replication of successes. All of these are specific action organizations take to manage their knowledge. มุ่งเน้นวิธีการที่องค์กรแยกแยะ สร้าง จับประเด็น แสวงหา ใช้ร่วมกัน และ จัดกลุ่มความรู้ ขบวนการที่เป็นระบบนี้จะสนับสนุนกิจกรรมเหล่านี้ก็ให้เกิดความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง สิ่งเหล่านี้เป็นวิธีเฉพาะที่องค์กรปฏิบัติเพื่อจัดการความรู้ของแต่ละองค์กร (Melissie Rumizen of Buckman Laboratories) Knowledge Management

  21. รูปแบบการทำงานใหม่ งานไร้ทักษะ งานที่ต้องใช้ความรู้ งานที่ซ้ำซาก งานสร้างสรรค์ งานใครงานมัน ทีมงาน งานตามหน้าที่ งานตามโครงการ งานที่ใช้ทักษะอย่างเดียว งานใช้ทักษะหลายอย่าง อำนาจของหัวหน้า อำนาจของลูกค้า การสั่งการจากเบื้องบน การประสานงานกับเพื่อนร่วมงาน เรียนรู้นอกงาน เรียนรู้ในงาน/เรียนรู้ร่วมกัน เน้นการแข่งขัน เน้นความร่วมมือ แยกงานจากชีวิต ผูกงานกับชีวิต Knowledge Management

  22. External Tacit โดยนัย Internal Explicit Explicit Knowledge Base Knowledge Transfer Tacit โดยนัย Tacit Transfer Formal Transfer Knowledge Management

  23. S E I C เกลียวความรู้ SECI Model • สังคม Socialization • : การเปลี่ยนแปลง..ความรู้โดยนัย..กับ..ความรู้โดยนัย • 2) สกัดความรู้ Externalization • : การเปลี่ยนแปลง...ความรู้โดยนัย..ไปเป็น...ความรู้ที่ปรากฎชัดแจ้ง • 3) รวมความรู้Combination • : การเปลี่ยนแปลง...ความรู้ที่ปรากฎชัดแจ้ง...กับ...ความรู้ที่ปรากฎชัดแจ้ง • 4) ฝังความรู้Internalization • : การเปลี่ยนแปลง....ความรู้ที่ปรากฎชัดแจ้ง...ไปเป็น...ความรู้โดยนัย Knowledge Management

  24. S E I C เกลียวความรู้ SECI Model ใช้ตัวอย่าง ลงมือปฏิบัติ สื่อ/ประชุม ทรัพย์สิน Knowledge Management

  25. การไหลเวียนของความรู้การไหลเวียนของความรู้ Knowledge Management

  26. คน คน อาวุโส เยาว์ S E I C Top Middle Lower Inter-departmental การข้ามแดนความรู้ Knowledge Management

  27. เส้นทางของกิจกรรม 1) การบริหารคนManagement of People : ความรู้เป็นขั้นตอน Knowledge as Process 2) การบริหารสารสนเทศManagement of Information : ความรู้ที่เป็นวัตถุ Knowledge as an Object Knowledge Management

  28. ระดับของกิจกรรม(Level of Activities) • ระดับส่วนตัว Individual Perspective • 2) ระดับองก์กร Organization Perspective Knowledge Management

  29. ขอบข่ายการจัดการความรู้ขอบข่ายการจัดการความรู้ Information/Object People/Process OrganizationRe_engineeringOrganization Theorists Individual AI_specialistPsychologists Knowledge Management

  30. มิติในการจัดการความรู้มิติในการจัดการความรู้ 1) KM as Technology : how-to 2) KM as Discipline : AI ทฤษฎี 3) KM as a Management Philosophy and Practice : ปรัชญา การปฏิบัติ 4) KM as a Societal and Enterprise Movement : ทุนทางปัญญา Knowledge Management

  31. การบริหารความรู้ ระดับของความรู้ Care-why ความเชื่อ/ค่านิยม Know-why อธิบายเหตุผลได้ Know-how ปรับตัวตามสถานการณ์ Know-what Current state of most company ทฤษฎี Knowledge Management

  32. หลักในการจัดการความรู้หลักในการจัดการความรู้ 1) ให้คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิดทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ 2) ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานในรูปแบบใหม่ๆ 3) ทดลอง / เรียนรู้ 4) นำเข้า Know How จากภายนอก Knowledge Management

  33. คลังความรู้ • ทั้ง TK และ EK • ใหม่ สดเสมอ ไม่เก่าเก็บ • ทุกเวลา ทุกที่ ทุกคน • เข้าถึงง่าย ใช้ง่าย Knowledge Management

  34. คลังความรู้ learn during ใช้ความรู้ บุคคล & ทีม เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ learn after learn before Knowledge Management

  35. พื้นที่ประเทืองปัญญา ประชุม Web site ศึกษา ดูงาน พื้นที่จริง พื้นที่เสมือน • “พื้นที่”สำหรับการเลือกเปลี่ยนเรียนรู้ • อิสระภาพ ความเอื้ออาธร เชื่อถือ ไว้วางใจ • ไม่อายที่จะถาม ไม่หวงที่จะบอก • บอกแม้สิ่งที่ไม่แน่ใจ Web board เพื่อนช่วยเพื่อน Knowledge Management

  36. ความรู้ภายนอก องค์ประกอบการจัดการความรู้ เครื่องมือ/ การสื่อสาร คน วัฒนธรรม • ใช้ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ยกระดับความรู้ บรรลุเป้าหมาย ของงาน กำหนดเป้าหมาย ของงาน วัดได้ คลังความรู้ จัดเก็บ สืบค้น ปรับปรุง Knowledge Management

  37. ข้อควรระวังของการจัดการความรู้ข้อควรระวังของการจัดการความรู้ • ดำเนินการแบบไม่มีระบบ ไม่มีโครงสร้าง ไม่มีหลักเกณฑ์ • การตัดสินใจมักกระทำโดยไม่ได้ใช้ความรู้ที่ดีที่สุดที่มีอยู่ในองค์กร • ความรู้ที่มีอยู่ไม่ได้ถูกใช้ซ้ำ ไม่ได้มีการแลกเปลี่ยน สมาชิกองค์กรต้องสร้างความรู้ใหม่ขึ้นใช้เองโดยไม่ จำเป็น ทำให้มีการทำงานซ้ำกับงานที่คนอื่นภายในองค์กรเคยทำไว้แล้ว Carl Davidson, Phillip Voss. Knowledge Management

  38. ข้อควรระวังของการจัดการความรู้ข้อควรระวังของการจัดการความรู้ • สมาชิกในองค์กรอยู่ภายใต้สภาพที่สารสนเทศท่วมท้นจนเกิด ความสับสน มากกว่าที่สารสนเทศจะช่วยให้ทำงานได้ดีขึ้น • การปกปิดความรู้ระหว่างองค์กรเป็นเรื่องปกติ และไม่มีความสนใจในกลุ่มสมาชิกขององค์กรที่จะช่วยกันเพิ่มพูนความรู้ Carl Davidson, Phillip Voss. Knowledge Management

  39. กฎในการจัดการความรู้ • สมัครใจ ไม่ใช่กะเกณฑ์ • “การรู้ ” เกิดเมื่อต้องการใช้ความรู้ • “รู้ ” มากกว่าที่เราเขียนได้ หรือ พูดได้ • มีสารสนเทศ/ความรู้เพิ่มเติม Knowledge Management

  40. สร้างชุมชนนักปฏิบัติ • Expert 5% • Training Professional 40% • Expert in Community of Practice 100% Knowledge Management

  41. การจัดการความรู้ Organization K • ทำเพื่อพัฒนาตนเอง • ทำเพื่อพัฒนาองก์กร • ทำเพื่อพัฒนาฐานความรู้ • ทำเพื่อพัฒนาส่วนรวม • ทำเพื่อให้สามารถปฏิบัติได้ Global K K at Action Context K Individual K Knowledge Management

  42. จัดการความรู้ไปทำไม? Knowledge Management

  43. การจัดการความรู้ • ใช้ความรู้ และ สร้างความรู้ ณ จุดใช้งาน • ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ • ช่วยยกระดับความรู้ TK และ EK • เก็บเป็นเอกสาร Knowledge Management

  44. กระบวนการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้ • การจัดหาความรู้(Knowledge Acquisition) : internal, external • การจัดเก็บค้นคืนความรู้(Knowledge Storage and Retrieval) • การใช้ความรู้(Knowledge Usage/ Utilization) • การเคลื่อนย้าย/กระจาย/แบ่งปันความรู้ (Knowledge Transfer/ Distribution/ Sharing) • การสร้างความรู้ใหม่(New Knowledge Creation) Knowledge Management

  45. การจัดการความรู้ จัดหา/แทน/ค้นคืนความรู้ ใช้ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ สร้างความรู้ Knowledge Management

  46. บรรยากาศ : ที่เราอยู่/ทำงาน/องก์กร • วัฒนธรรม : ที่องก์กรคาดหวัง • ผลลัพธ์ : พฤติกรรม การกระทำ การจัดการความรู้สำเร็จ Head Heart Hand สนใจสิ่งเดียวกัน Knowledge Management

  47. สรุป องก์กร คน วัฒนธรรม การจัดการความรู้ คลังความรู้ พื้นที่จริง พื้นที่เสมือน TK EK เกลียวความรู้ SECI Model ความรู้ Knowledge Management

  48. Homework 1(2%) • จงหาความหมายของความรู้ (knowledge) • จงหาความหมายของการจัดการความรู้ (knowledgemanagement) • จงหาตัวอย่างของการจัดการความรู้ ให้นักศึกษาใส่เอกสารอ้างอิง หรือ website ด้วย Knowledge Management

  49. ไม่กล้า ไม่มีวันเดินหน้า Nothing ventured, nothing gained. วิลเลี่ยม เช็คสเปียร์ Knowledge Management

More Related