170 likes | 180 Views
แบบประเมินโครงสร้างการเมืองและสังคม ขององค์การแคร์ นานาชาติ (CARE Governance Marker). 10 th July 2019 PQD Training on PIIRS FY19 Empower Room, Office 3 Raks Thai Foundation, Bangkok. หัวข้อการนำเสนอ. - CARE Inclusive Governance Marker คืออะไร?
E N D
แบบประเมินโครงสร้างการเมืองและสังคม ขององค์การแคร์ นานาชาติ (CARE Governance Marker) • 10th July 2019 • PQD Training on PIIRS FY19 • Empower Room, Office 3 • Raks Thai Foundation, Bangkok
หัวข้อการนำเสนอ • - CARE Inclusive Governance Marker คืออะไร? • - กรอบวิเคราะห์โครงการด้านโครงสร้างสังคมและการเมือง Governance Programming Framework (GPF) • - วิธีการกรอก Governance Marker Vetting Form
CARE Inclusive Governance Marker คืออะไร? • Inclusive Governance Marker คือ แบบประเมินด้านโครงสร้างสังคมและการเมืองซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรายงานระบบข้อมูลโครงการ หรือ Project and Program Information and Impact Reporting System (PIIRS) ขององค์การแคร์ นานาชาติ ซึ่งจัดทำทุกปี เพื่อรับรองว่าทุกโครงการมีการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมด้านโครงสร้างสังคมและการเมือง • โดยผู้ประเมิน (reviewer) สามารถใช้เครื่องมือแบบประเมินโครงสร้างสังคมและการเมือง เพื่อวัดระดับการบูรณาการประเด็น/กรอบวิเคราะห์ด้านโครงสร้างทางสังคมและการเมืองในการดำเนินโครงการ หรือสามารถนำไปใช้ในกระบวนการอื่น ๆ ได้ เช่น การออกแบบข้อเสนอโครงการ(Proposal Design) กระบวนการการติดตาม (Monitoring Implementation)การทบทวนกิจกรรม (After Action Review)
กรอบวิเคราะห์โครงการด้านโครงสร้างสังคมและการเมือง Governance Programming Framework (GPF) การพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป็นธรรม พื้นที่การต่อรองอย่างมีส่วนร่วมและมีประสิทธิภาพ ขยายเพิ่มขึ้น เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้มีอำนาจตัดสินใจ ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือ การเสริมพลังประชาชน GPF pyramid
สามารถโหลดแบบฟอร์มได้ที่ www.raksthaiplp.org ในหัวข้อ “ไฟล์”
STEP 1 ประเมินโครงการของคุณว่ามีความเกี่ยวข้องกับโครงสร้างสังคมและการเมืองหรือความสัมพันธ์เชิงอำนาจหรือไม่ ? อย่างไร ?
หากโครงการที่ทำอยู่ ทำงานภายใต้ โครงสร้าง สถาบันและความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่มีอยู่เดิมเลือก คอลัมน์ Aทำเครื่องหมาย ✔ หลังข้อความที่เห็นด้วยหากโครงการที่ทำอยู่ ท้าทาย โครงสร้าง สถาบันและความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่มีอยู่เดิมเลือก คอลัมน์ Bทำเครื่องหมาย ✔ หลังข้อความที่คุณเห็นด้วย STEP 2 การวิเคราะห์ คอลัมน์ B คอลัมน์ A การวิเคราะห์: โครงการนี้มีการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพื้นฐานและมีการวิเคราะห์สถานการณ์ที่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของกลุ่มประชากรที่แตกต่างกันและความรับผิดชอบของผู้มีอำนาจตัดสินใจ การวิเคราะห์: โครงการนี้มีพื้นฐานอยู่บนการวิเคราะห์บริบทด้านอำนาจหรือเศรษฐกิจการเมือง ในเชิงลึก มีการพิจารณาทุกด้านของ กรอบวิเคราะห์โครงสร้างสังคมและการเมืองของโครงการ (GPF)
หากโครงการที่ทำอยู่ ทำงานภายใต้ โครงสร้าง สถาบันและความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่มีอยู่เดิมเลือก คอลัมน์ A ทำเครื่องหมาย ✔ หลังข้อความที่เห็นด้วยหากโครงการที่ทำอยู่ ท้าทาย โครงสร้าง สถาบันและความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่มีอยู่เดิมเลือก คอลัมน์ Bทำเครื่องหมาย ✔ หลังข้อความที่คุณเห็นด้วย STEP 2 กิจกรรม คอลัมน์ A คอลัมน์ B กิจกรรม: โครงการมียุทธศาสตร์และกิจกรรมอย่างน้อยหนึ่งกิจกรรมในกรอบวิเคราะห์โครงสร้างสังคมและการเมืองของโครงการ (GPF)* กิจกรรม:โครงการนี้มียุทธศาสตร์หรือการประสานงานกับหน่วยงานอื่นในครอบคลุมทุกด้านของกรอบวิเคราะห์โครงสร้างสังคมและการเมืองของโครงการ (GPF)*
หากโครงการที่ทำอยู่ ทำงานภายใต้ โครงสร้าง สถาบันและความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่มีอยู่เดิมเลือก คอลัมน์ Aทำเครื่องหมาย ✔ หลังข้อความที่เห็นด้วยหากโครงการที่ทำอยู่ ท้าทาย โครงสร้าง สถาบันและความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่มีอยู่เดิมเลือก คอลัมน์ Bทำเครื่องหมาย ✔ หลังข้อความที่คุณเห็นด้วย STEP 2 การบูรณาการ คอลัมน์ A คอลัมน์ B การบูรณาการ: เราทำงานกับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่แตกต่างกัน (ภาคประชาสังคม รัฐ และเอกชน) ในระดับที่แตกต่างกัน (โครงการมีการทำงานเพื่อเชื่อมชุมชนกับระดับตำบล/ภูมิภาค) การบูรณาการ: เราทำงานกับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่หลากหลาย (ภาคประชาสังคม รัฐ และเอกชน) ในระดับที่แตกต่างกัน (โครงการมีการทำงานเพื่อเชื่อมชุมชนกับระดับตำบลสู่การเปลี่ยนแปลงระดับประเทศ)
หากโครงการที่ทำอยู่ ทำงานภายใต้ โครงสร้าง สถาบันและความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่มีอยู่เดิมเลือก คอลัมน์ Aทำเครื่องหมาย ✔ หลังข้อความที่เห็นด้วยหากโครงการที่ทำอยู่ ท้าทาย โครงสร้าง สถาบันและความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่มีอยู่เดิมเลือก คอลัมน์ Bทำเครื่องหมาย ✔ หลังข้อความที่คุณเห็นด้วย STEP 2 ความรับผิดชอบของ CARE คอลัมน์ A คอลัมน์ B ความรับผิดชอบของ CARE: โครงการใช้วิธีการของ CAREอย่างน้อยสองวิธีการ ในการสร้างการตรวจสอบและรับผิดชอบในระดับองค์กร (ความโปร่งใส การมีส่วนร่วมของประชาชน กลไกการให้ความคิดเห็น และระบบการจัดการองค์กร) ความรับผิดชอบของ CARE: โครงการใช้วิธีการของ CAREทั้งสี่วิธีการ ในการสร้างการตรวจสอบ และรับผิดชอบในระดับองค์กร (ความโปร่งใส การมีส่วนร่วมของประชาชน กลไกการให้ความคิดเห็น และระบบการจัดการองค์กร)
รวมคะแนน STEP 3 • คอลัมน์ A • คะแนน 0-1 = ระดับ 0 • คะแนน 2-3 = ระดับ 1 • คะแนน 4 = ระดับ 2 • คอลัมน์ B • คะแนน 0-1 = ทำคอลัมน์ A • คะแนน 2-3 = ระดับ 3 • คะแนน 4 = ระดับ 4 อย่างเสียมิได้
ผู้ประเมินจะต้องให้เหตุผลและเอกสารอ้างอิงเพื่อสนับสนุนคำตอบผู้ประเมินจะต้องให้เหตุผลและเอกสารอ้างอิงเพื่อสนับสนุนคำตอบ
เอกสารเพิ่มเติม CARE Inclusive Governance Marker Vetting Form https://www.raksthaiplp.org/resources.html CARE Inclusive Governance Marker Guidance https://www.raksthaiplp.org/resources.html CARE International Accountability Framework https://www.care-international.org/files/files/CARE%20International%20Accountability%20Framework.pdf A Governance Programming Framework for CARE http://governance.careinternationalwikis.org/_media/gpf_summary_document_final.pdf Guide to the organization of systems for NGO accountability to the community (English) http://governance.careinternationalwikis.org/_media/care_peru_guide_to_the_organization_of_systems_for_ngo_accountability.pdf
ทีม DMEL DME@raksthai.org