550 likes | 960 Views
Vandermonde Matrix. จัดทำโดย นางสาว สิริรัตน์ ตุ้นสกุล. รหัสประจำตัว 43040989. เสนอ อาจารย์ พัชรี เลิศวิจิตรศิลป์. อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ กรรณิกา คงสาคร. Vandermonde Matrix.
E N D
จัดทำโดย นางสาวสิริรัตน์ตุ้นสกุล รหัสประจำตัว 43040989 เสนอ อาจารย์ พัชรี เลิศวิจิตรศิลป์ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์กรรณิกาคงสาคร
VandermondeMatrix เมื่อเราเรียนพีชคณิตเชิงเส้น (linear algebra) เรามักจะพบเอกลักษณ์ที่เรียกว่า Vandermonde determinant ในรูป =
Vandermonde Matrix ตัวอย่าง det= (4-2)(4-3)(3-2) = (2)(1)(1) = 2 det = (-1-(-4))(-1-(-3))(-1-(-2)) (-2-(-4))(-2-(-3))(-3-(-4)) = (3)(2)(1)(2)(1)(1) = 12
ในกรณีทั่วไปนิยามเมทริกซ์ที่เรียกVandermonde matrix เป็น … (1) เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกและn 2 …(2)
พิสูจน์ กรณี n = 2 เห็นได้ชัดเจนว่า ….(3) สมมติให้ เป็นจริง เมื่อk เป็นจำนวนเต็มบวกใดๆ det V (x1,…xk,xk+1) ต้องการแสดงว่า เป็นจริง
พิจารณา det V (x,…xk,xk+1) = det …(4)
เมื่อกระจายตามหลักที่1ค่าของ det V(x,…,xk,xk+1) จะเป็นพหุนามดีกรีk ในx และถ้าแทนx ด้วย จะเห็นว่าค่าของตัวกำหนด(determinant) เป็นศูนย์ ดังนั้นสามารถเขียนได้ว่า det V(x,…,xk,xk+1) = A(x-x2) (x-x3)…(x-xk) (x-xk+1)….(5)
เมื่อ A เป็นค่าคงที่จาก (5) จะเห็นว่า A เป็นสัมประสิทธิ์ของ xk ดังนั้นจาก (4) ได้ว่า A = = det V(x2,…,xk+1) = (-1)k สรุปว่า (x-x2)(x-x3)…(x-xk)(x-xk+1) detV= =
เมื่อแทนxด้วยx1 det V (x1,…xk,xk+1) = (x1-x2) (x1-x3)…(x1-xk) (x1-xk+1) = = โดยหลักการอุปนัยทางคณิตศาสตร์ได้ว่า (2) เป็นจริงทุกๆ n ที่เป็นสมาชิกของจำนวนเต็มบวกใดๆ
เรามักจะพบVandermonde matrix ในปัญหาดังต่อไปนี้ 1. การสร้างพหุนามค่าสอดแทรก(polynomial interpolation) 2. ปัญหาค่าเริ่มต้นของสมการเชิงอนุพันธ์(differential equation initial value problem) และ 3. การสร้างลำดับโดยกำหนดจากความสัมพันธ์เวียนบังเกิด (recursively defined sequences) ในที่นี้จะกล่าวถึงเพียงปัญหาทั้ง3 อย่างที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นและบทบาทของVandermonde matrix และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสน จะเขียนV แทนV
1. พหุนามค่าสอดแทรก(Polynomial interpolation) กำหนดให้พหุนามดีกรีn-1ผ่านจุด(x1, y1), (x2,y2),….,(xn,yn) ต่างกันn จุด เขียนในรูป q(x) =….(6) สัมประสิทธิ์ciหาได้จากระบบสมการ q(xj) = yj ; j = 1, 2 ,…,n
เมื่อแทนค่าj = 1, 2,…,n ในพหุนามq(x) จะได้ระบบสมการดังนี้ = y1 = y2 …(7) . . . . . . = yn
จากระบบสมการสามารถนำมาเขียนในรูปเมทริกซ์ดังนี้จากระบบสมการสามารถนำมาเขียนในรูปเมทริกซ์ดังนี้ … (8) = สังเกตว่า เมทริกซ์สัมประสิทธิ์จะเป็นตัวสลับเปลี่ยน(transposed) ของVandermonde matrix และตัวกำหนด(determinant) ของเมทริกซ์สัมประสิทธิ์ของ(7) จะเกี่ยวข้องกับเอกลักษณ์(2) เห็นได้ชัดว่าเมื่อxi ต่างกันหมดตัวกำหนด(determinant) จะไม่เท่ากับศูนย์สัมประสิทธิ์ของq มีเพียงหนึ่งเดียว
q(x) จะสามารถหาได้โดยการปฏิบัติดังต่อไปนี้ กำหนดให้ Q(x) = det …(9)
เมื่อแทนxในหลักสุดท้ายด้วยxiจะได้เมื่อแทนxในหลักสุดท้ายด้วยxiจะได้ Q( xi) = det
นำหลักสูตรท้ายลบด้วยหลักที่i จะได้ว่าสมาชิกในหลักสุดท้ายเป็น0ยกเว้นสมาชิกตัวสุดท้ายมีค่าเป็น-yi และ Q( xi) = det = -yi det V(x1,…,xn) หรือyi = -….(10)
สิ่งนี้เป็นจริงสำหรับทุกi = 1, 2, 3…,nและเพราะว่าq(xi) = yi ดังนั้นจะได้ว่าq(x) =….(11) ในที่นี้Vandermonde determinant มีความสำคัญอย่างเห็นได้ชัดในการสร้างพหุนามค่าสอดแทรก(polynomial interpolation) ผ่านจุดต่างกันn จุด
ตัวอย่าง กำหนดให้พหุนามกำลัง2ที่ผ่านจุด(-3, 4), (0, 1), (2, 9) คือq(x) = เมื่อแทนค่า(x1, y1) =(-3,4) , (x2 y2) = (0,1) และ (x3, y3) = (2,9) ลงในสมการ จะได้ = 4 = 1 = 9
จากระบบสมการสามารถเขียนในรูปเมทริกซ์ดังนี้จากระบบสมการสามารถเขียนในรูปเมทริกซ์ดังนี้ = VTC = Y det V(x1,x2,x3) = det = (2-(-3)) (0-(-3)) (2-0) = (5) (3) (2) = 30
จาก(9) ; กำหนดให้ Q(x) = det = - จะได้Q(x) = -30 + (-60)x -30 x2 จาก(11) ; q(x) = ดังนั้น q(x) = 1 + 2x + x2 #
2. ปัญหาค่าเริ่มต้นของสมการเชิงอนุพันธ์(Differential equation initial value problems) พิจารณาสมการเชิงอนุพันธ์ ….(12) เมื่อa0,a1,…an เป็นค่าคงที่และD แทนการหาอนุพันธุ์เทียบกับt พร้อมด้วยเงื่อนไขเริ่มต้น Djy(0) = yj ; j = 0, 1, 2,…,n-1 ….(13) สมการ(12)มีพหุนามลักษณะเฉพาะ (characteristic polynomial)
จากสมการ(12)จะมีผลเฉลยyi = ; i = 1, 2,…,n และเมื่อผลเฉลยทั้งn ผลเฉลยจะเป็นอิสระเชิงเส้นดังนั้นผลรวมเชิงเส้น(linear combinations) ของyi = คือ y = เป็นผลเฉลยของ(12)ด้วย Dy และ … เมื่อแทนเงื่อนไขเริ่มต้นจาก(13)จะได้ระบบสมการ = yj ; j = 0,1,2,…,n-1
ระบบสมการนี้สามารถเขียนใหม่ในรูปเมทริกซ์ได้เป็นระบบสมการนี้สามารถเขียนใหม่ในรูปเมทริกซ์ได้เป็น = VC = Y…(14) เมื่อV =, C = , Y = ถ้าxiต่างกันผลเฉลยของ(14)มีหนึ่งเดียว จะเห็นว่าVandermonde matrixมีบทบาทในการหาค่าคงที่Cของผลเฉลยของปัญหา
ตัวอย่าง = 0 ; y0= 1,y1 = 9, y2= 17 ( D3 - 3D2 – D + 3 )y = 0 พหุนามลักษณะเฉพาะของสมการคือ p(D) = D3 - 3D2 – D + 3 = (D + 1)(D – 1)(D – 3) วิธีทำ ผลเฉลยคือ เมื่อแทนเงื่อนไขเริ่มต้น(13)จะได้ = 1 = 9 =17
จากระบบสมการนำมาเขียนในรูปเมทริกซ์ได้เป็นจากระบบสมการนำมาเขียนในรูปเมทริกซ์ได้เป็น = V C = C = #
3.ลำดับที่กำหนดโดยความสัมพันธ์เวียนบังเกิด3.ลำดับที่กำหนดโดยความสัมพันธ์เวียนบังเกิด (Recursively defined sequences) ให้เป็น n พจน์แรกของลำดับที่มีความสัมพันธ์กันตามสมการ ….(15) เมื่อ aiไม่ขึ้นกับ k จะเรียกลำดับนี้ว่าrecurrent sequence ตัวอย่างของลำดับนี้ที่รู้จักกันดีคือ Fibonaci sequence ซึ่งเริ่มจาก 0,1,1,2,3,… และแต่ละพจน์จะเป็นผลรวมของ 2 พจน์ที่อยู่ข้างหน้า
ในอีกทางหนึ่งเรากำหนดให้ {yj} เป็นลำดับที่มี n + 1 พจน์ซึ่งสอดคล้องกับสมการในรูปแบบข้างต้นเป็น ….(16) ซึ่ง y0, y1 ,y2, …, yn-1เป็นค่าเริ่มต้นที่กำหนดไว้แน่นอนสมการที่(16)จะเรียกว่าสมการเชิงผลต่าง (difference equations) และสมการนี้เป็นสมการที่สำคัญในการสร้างแบบจำลองปัญหาต่างๆ
สมการ(16)หาคำตอบได้โดยการให้ yjอยู่ในรูปฟังก์ชันของ j ซึ่งเหมือนกับที่กล่าวมาในสมการเชิงอนุพันธ์ กำหนดตัวดำเนินการ L โดยที่ L {yj} = {yj+1} , j=0,1,2,… เรียกตัวดำเนินการนี้ว่า ตัวดำเนินการเลื่อน (Shifting Operator) ซึ่งเลื่อนลำดับy0, y1, y2,… ไปทางซ้ายเป็นลำดับ y1, y2, y3,… สมการ(16)เขียนใหม่ได้เป็น Ln{yj}+ an-1Ln-1{yj}+…+a1L{yj}+a0L{yj}={0}….(17)
ซึ่งพหุนามลักษณะเฉพาะของสมการคือซึ่งพหุนามลักษณะเฉพาะของสมการคือ p(L) = Ln+an-1Ln-1+…+ a0 = (L-x1)(L-x2)…(L-xn) ถ้า x1, x2,…, xnต่างกันหมดผลรวมเชิงเส้นทั้งหมดของลำดับนี้จะเป็นผลเฉลยของสมการ(17)ดังนั้นผลเฉลยทั่วไปของ(17)คือ
เมื่อใช้ค่าเริ่มต้นพบว่าสัมประสิทธิ์ cjจะสอดคล้องกับ(14)คือ
จะได้ระบบสมการที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเมทริกซ์ได้เป็นจะได้ระบบสมการที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเมทริกซ์ได้เป็น เมื่อV = V(x1,…,xn) , C = [c1c2…cn]T , Y = [y0y1…yn-1]T
ตัวอย่าง พิจารณาสมการผลต่างสืบเนื่อง yn+2 - 5yn+1+ 6 yn = 0 ; y0=9 , y1 = 23 เขียนในรูปตัวดำเนินการ L ได้เป็น (L2 – 5L + 6)yn = 0 พหุนามลักษณะเฉพาะของสมการคือ p(L) = L2 + 5L+6 = (L-2)(L-3) ดังนั้นผลเฉลยคือ yn = c12n + c23n เมื่อแทนเงื่อนไขเริ่มต้นจะได้ c1 + c2 = 9 2c1 +3c2 = 23
จากระบบสมการนำมาเขียนในรูปเมทริกซ์ได้เป็นจากระบบสมการนำมาเขียนในรูปเมทริกซ์ได้เป็น C = V-1Y0 # เห็นได้ชัดว่า Vandermonde determinant จะครอบคลุมการแก้ของปัญหาต่างๆตามที่กล่าวมา
แต่ละกรณีข้างต้น Vandermonde matrix เกี่ยวข้องกับปัญหาของการหาค่าสัมประสิทธิ์ของผลรวมเชิงเส้น ในปัญหาพหุนามค่าสอดแทรกปัญหาค่าเริ่มต้นของสมการเชิงอนุพันธ์และของสมการเชิงผลต่างสามารถหาสูตรของผลเฉลยที่เกี่ยวข้องกับเมทริกซ์ V(x1,…,xn) โดยตรงโดยหลีกเลี่ยงการเกี่ยวข้องกับการใช้ผลรวมเชิงเส้น (linear combinations)
พิจารณาสมการเชิงอนุพันธ์(12)พิจารณาสมการเชิงอนุพันธ์(12) หรือ มีพหุนามลักษณะเฉพาะของสมการ
เมื่อแปลงเป็นระบบสมการอันดับหนึ่งโดยกำหนดเมื่อแปลงเป็นระบบสมการอันดับหนึ่งโดยกำหนด
เขียนในรูปเมทริกซ์ได้เป็นเขียนในรูปเมทริกซ์ได้เป็น ….(18) หรือDY = AY….(19) เมื่อYเป็นเวกเตอร์ที่ประกอบด้วยสมาชิก Aเป็นเมทริกซ์ขนาดn x nซึ่งอยู่ทางขวาของสมการ(18)
ผลเฉลยของรากบนสมการอันดับหนึ่ง(18)ทำได้โดยหาค่าเจาะจงจากสมการผลเฉลยของรากบนสมการอันดับหนึ่ง(18)ทำได้โดยหาค่าเจาะจงจากสมการ กระจายตัวกำหนดตามแถวที่ n จะได้สมการ
สำหรับ หาเวกเตอร์เจาะจงC1จาก ดังนั้น
เลือกc1 = 1 จะได้และ
จัดเป็น … (20) เมื่อ=
เมื่อใช้เงื่อนไขค่าเริ่มต้นDjy(0) = yj ; j = 0,1,2,…,n-1จะแทนด้วย Y(0) = Y0….(21) ทำให้ได้ว่า Y0= VIC = VCหรือC = V-1Y0 สุดท้ายจะได้ผลเฉลยหนึ่งเดียวของสมการ(19)และ(21)จะอยู่ในรูป ….(22)
สังเกตว่า ถ้า แล้ว ดังนั้น….(23)
ในทำนองเดียวกันจาก(22 )กำหนดเมทริกซ์ exponential ดังนั้นผลเฉลยของปัญหาค่าเริ่มต้นของสมการเชิงอนุพันธ์คือ ….(24)
ตัวอย่าง จงหาผลเฉลยของสมการ วิธีทำ พหุนามลักษณะเฉพาะของสมการคือ ดังนั้น กำหนดให้ และ
ผลเฉลยของสมการคือ นั่นคือ และ #
พิจารณาสมการเชิงผลต่าง(17)พิจารณาสมการเชิงผลต่าง(17) Ln{yj}+an-1Ln-1{yj}+….+a1L{yj}+a0{yj}= {0} จะเปลี่ยนรูปเป็นระบบสมการในวิธีทำนองเดียวกันโดยเราจะพิจารณาลำดับของเวกเตอร์{yj} สมการ(17)จะกลายเป็น L{Yj} = {AYj}….(25) เมื่อ A คือเมทริกซ์ที่เคยกล่าวถึง เมื่อL{Yj} = {Yj+1}แล้วสมการ(25)จะสมมูลกับ Yj+1 = AYj….(26)