510 likes | 1.34k Views
กำหนดการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น บริษัท ไทยธุรกิจเกษตร จำกัด ( TABCO ) ประจำปี 255 4 วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม 255 5. ประวัติวิทยากร. ชื่อ - นางสาวจิตติมา นาค มโน ตำแหน่ง – นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการ
E N D
กำหนดการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น บริษัท ไทยธุรกิจเกษตร จำกัด (TABCO) ประจำปี 2554วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม 2555
ประวัติวิทยากร ชื่อ - นางสาวจิตติมา นาค มโน ตำแหน่ง – นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการ สังกัด – สำนักงานยุทธศาสตร์และการบูรณาการสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ประวัติการศึกษา - ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท พาณิชยศาสตร์บัณฑิต สาขานโยบายการค้าระหว่างประเทศ จาก Monterey Institute of International Studies, USA
ประสบการณ์ทำงาน ปัจจุบัน เป็นนักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการ ส่วน AFTA Unit สำนักงานยุทธศาสตร์และการบูรณาการสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เคยรับผิดชอบงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างไทย-สหภาพยุโรป และเข้าร่วมการเจรจาความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-สหภาพยุโรป และการเจรจาความตกลงการค้าเสรีไทย-สหภาพยุโรป ฝึกงานปฏิบัติราชการ ณ สำนักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ ณ กรุงบรัสเซลส์ เบลเยียม เข้าร่วมการฝึกอบรม WIPO-WTO Advanced Course on Intellectual Property for Government Officials, Geneva: 26 April-5 May 2010 เข้าร่วมการฝึกอบรม Orientation Course for ASEAN Diplomats to the European Commission, Brussels: 25-27 November 2009
ประสบการณ์ทำงาน เข้าร่วมการฝึกอบรม Trade Negotiation Executive Programme on WTO issues sponsored by Temasek Foundation Centre for Trade and Negotiations, Singapore: 3 August – 11 September 2009 เข้าร่วมการฝึกอบรม WTO Trade Remedies Laws and Practice, Bangkok: 25-28 May 2009 เข้าร่วมการฝึกอบรม WTO Services Negotiation, Thailand: July 2008 เข้าร่วมการฝึกอบรม APEC-EIP regional training program on Market Access: Manila: 5-7 March 2007
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โอกาสและผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย การประชุมคณะกรรมการกลางสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้าธ.ก.ส. แห่งประเทศไทย การประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น บริษัท ไทยธุรกิจเกษตร จำกัด ณ โรงแรมมารวย การ์เด้นท์ วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม 2555
ก่อนอื่น มารู้จัก......การเจรจาการค้าโลก
FTA คืออะไร • FTA หรือเขตการค้าเสรี เป็นการรวมกลุ่มของประเทศ/กลุ่มประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อลด/ยกเลิกอุปสรรคการค้าการลงทุน • ที่ผ่านมา การจัดทำ FTA ครอบคลุมเรื่องการลด/ยกเลิกภาษีและมาตรการที่มิใช่ภาษี รวมถึงอุปสรรคด้านบริการและการลงทุน • ปัจจุบันFTA ได้ขยายขอบเขตไปถึงเรื่องการกำหนดกฎเกณฑ์ การอำนวยความสะดวก และความร่วมมือต่างๆในด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุน
โลกการค้าปัจจุบัน -- การรวมกลุ่มเศรษฐกิจต่างๆ EFTA China 10 FTAs – 22 countries ; SG, NZ, Chile, Peru, HK Nego – 18 countries ; AUS, GCC, SACU Japan 13 FTAs – 16 countries ; India, ASEAN (except CLM) Nego – 8 countries ; ROK, AUS, GCC EU FTAs – 28 countries; ROK, EFTA, MX , Middle East, Nego – 23 countries; SG, ML, India, China TPPTrans-Pacific Strategic Economic Partnership (US, AUS, NZ, Chile, Peru, SG, ML, BR, VN) NAFTA APEC ANDEAN South Korea 8 FTAs – 44 countries ; SG, India, EU, US, EFTA Nego – 39 countries ; AUS, NZ, GCC BRICS(Brazil, Russia, India, China, South Africa) GCC BIMSTEC US 14 FTAs – 20 countries; SG, NAFTA, AUS, Central –South America, ROK, Columbia, Panama Nego - 4 countries; TPP (BR, ML, VN, NZ) India 6 FTAs - 16 countries ; SG, TH, ML, Sri Lanka, ROK Nego – 55 countries ; China, Japan, EU, EFTA, GCC Australia 6 FTAs – 13 countries ; SG, TH, NZ, US, Chile Nego – 13 countries ; ROK, China, Japan, India, GCC New Zealand 8 FTAs – 12 countries ; SG, TH, ML, China, AUS Nego – 9 countries ; ROK, India, US, GCC
CAMBODIA ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1967(2510) ก่อตั้ง ASEAN • 1967(2510) ก่อตั้งโดย 5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ • 1984(2527) ขยายสมาชิกบรูไน ASEAN - 6 • 1995(2538) ขยายสมาชิกเวียดนาม CLMV • 1997(2540) ขยายสมาชิกลาว พม่า • 1999(2542) ขยายสมาชิกกัมพูชา รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศประชากร 580 ล้านคน และกำลังมุ่งสู่………….. 2015(2558)ASEAN Economic Community A E C ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ตารางดำเนินการStrategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
4 4 เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint เพื่อประสานกลายเป็นหนึ่งเดียว คือ อาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค AEC 2015 สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น e-ASEAN 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ลดช่องว่างการพัฒนา IAI จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE
สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ปี 2558 สินค้า ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้าระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง บริการ ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี การลงทุน การลงทุนในอาเซียนทำได้อย่างเสรี แรงงานฝีมือ การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี เงินทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรียิ่งขึ้น
6 1.1 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียน 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์(ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – ทำให้กฎเกณฑ์ในการตัดสินหรือพิสูจน์ว่าสินค้ามีสัญชาติหรือถิ่นกำเนิดในประเทศใดชัดเจนยิ่งขึ้น :RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน -เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification
สินค้าอ่อนไหว(Sensitive List) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% ASEAN – 6 ภายใน 1ม.ค.2553 CLMV ภายใน 1 ม.ค.2558
สินค้าในรายการอ่อนไหวสูงHighly Sensitive List ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้า : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทยได้ชดเชย เป็นการนำเข้าขั้นต่ำ ปีละประมาณ 5.5 แสนตัน ไทยได้ชดเชย โดยฟิลิปปินส์ตกลงจะซื้อข้าวจากไทย อย่างต่ำปีละ 3.67 แสนตัน
1.2 อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน 7 ปี 2556 (2013) ปี 2553 (2010) ปี 2551 (2008) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม e-ASEAN (โทรคมนาคม-คอมพิวเตอร์) สุขภาพ/ท่องเที่ยว/การบิน 70% PIS: Priority Integration Sectors โลจิสติกส์ 70% 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ 49% 51% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128สาขาย่อย ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทำให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น FLEXIBILITY สามารถไม่เปิดเสรี ในบางสาขาได้
1.3 อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก NT – MFNการลงทุนในอาเซียนจะเปิดเสรีและโปร่งใสมากขึ้น FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ • Challenges • นโยบายเชิงรุกเพื่อดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน • นโยบายสนับสนุนให้มีการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น FDI Portfolio เกษตร บริการเกี่ยวเนื่อง ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต • ACIAความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) - ลงนามปี 2552 • IGAความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of Investment/ Investment Guarantee Agreement) - ปี 1987 • AIAกรอบความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area) - ปี 1998
1.4 อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น MRAไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วมนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถ จดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักสำรวจ* สาขานักบัญชี* สาขาสถาปัตยกรรม สาขาแพทย์ สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ * ยังเป็นเพียง Frameworkหรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป 18
1.5 อาเซียนจะมีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็นระบบ 10
1.6 อาเซียนเสริมสร้างความร่วมมือรองรับการเปิดเสรีในอนาคต 11 อาหาร สร้างความมั่นคงทางอาหารและบรรเทาปัญหาเร่งด่วน/ขาดแคลน สร้างระบบและกระบวนการในการควบคุมคุณภาพอาหาร จัดทำระบบการรับรองให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เกษตรพัฒนาแนวทางปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร มาตรฐานการผลิต เก็บเกี่ยว และจัดการหลังเก็บเกี่ยว กำหนดระดับปริมาณสารพิษตกค้างและเกณฑ์การรับรองสินค้าปศุสัตว์ ป่าไม้จัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและกำจัดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โดยการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากร การถ่ายทอดเทคโนโลยี การสร้างความเข้มแข็งของการบังคับใช้กฎหมาย
India ACFTA AIFTA China AEC AJCEP AANZFTA Australia New Zealand Japan AKFTA Korea 4. อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก 15 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – ปัจจุบัน สินค้า : ลงนาม 29 พ.ย. 47 มีผล 1 ม.ค. 48 บริการ : ลงนาม 14 ม.ค. 50 มีผล 1 ก.ค. 50 ลงทุน : ลงนาม 15 ส.ค. 52 มีผล เม.ย. 53 สินค้า : ลงนาม 13 ส.ค. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 บริการ/ลงทุน : กำลังเจรจา สินค้า/บริการ/ลงทุน : ไทยลงนาม 11 เม.ย. 51 สำหรับไทย มีผล 2 มิ.ย. 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 ก.พ. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 (ไทยให้สัตยาบัน 12 มี.ค. 53) สินค้า : อาเซียนอื่นลงนาม 28 ส.ค. 49 บริการ : อาเซียนอื่นลงนาม 21 พ.ย. 50 ไทย :บริการ ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มิ.ย. 52 สินค้า ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 ต.ค. 52 ลงทุน: ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิ.ย. 52 มีผล 31 ต.ค. 52
AEC โอกาส (Opportunities) & ผลกระทบ(Threats) ภาษีนำเข้าเป็น 0% อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป ขยายการส่งออกเพิ่มขึ้นไปยังอาเซียน สามารถนำเข้าวัตถุดิบ /กึ่งสำเร็จรูป จากอาเซียนที่มีความได้เปรียบกว่าด้านราคา/คุณภาพ โอกาสส่งออกสินค้าใหม่ที่เคยมีภาษีสูง ไปยังตลาดอาเซียน สินค้าประเภทเดียวกันจากอาเซียนเข้ามาแข่ง ตลาดใหญ่ขึ้น: เกิด economy of scale ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ต้นทุนของคู่แข่งก็อาจต่ำลงด้วย ทำธุรกิจบริการ ในอาเซียนได้อย่างเสรี ไปตั้งธุรกิจ หรือขยายบริการในอาเซียนได้ ธุรกิจบริการของอาเซียนจะเข้ามาแข่งในไทย แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ แรงงานฝีมือเคลื่อนย้ายได้โดยเสรี อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ ถ้าที่อื่นมีสิ่งจูงใจกว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
AEC โอกาส (Opportunities) & ผลกระทบ(Threats) การลงทุนเสรีในอาเซียน ใช้ AEC เป็นฐานการผลิตร่วม สามารถย้ายฐานการผลิตทั้งหมด/บางส่วนไปยังอาเซียนอื่นที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต เพื่อเสริมความสามารถแข่งขัน ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอกAEC คู่แข่งอาเซียนอาจจะเข้ามาแข่งในเขตแดนเราเพื่อมาใช้ความได้เปรียบ ของปัจจัยการผลิตบางอย่าง ความร่วมมือด้าน การอำนวยความสะดวกทางการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง ต้นทุนโลจิสติกส์ของคู่แข่งในอาเซียนก็จะลดลงด้วย หากเขาดีกว่า ได้เปรียบด้านภาษีนำเข้าเมื่อเทียบกับสินค้าของประเทศคู่แข่งอื่นในตลาดคู่ค้าเหล่านี้ FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN+1, +3, +6 นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้วยังมีคู่แข่งเพิ่มจากประเทศ +3 หรือ +6 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับเกษตรกรไทย ตลาดอาเซียน มีความต้องการมากขึ้น สำหรับสินค้าเกษตรไทย ที่มีคุณภาพ ภาษีนำเข้า เป็นศูนย์หรือลดลง สินค้าเกษตรจากอาเซียนที่คุณภาพดีกว่า/ราคาถูกจะเข้ามาแข่งขัน และแย่งตลาด หากเกษตรกรไทย ไม่เตรียมรับมือ • ไทยส่งออก • สินค้าเกษตรได้มากขึ้น อุปสรรคนำเข้า สินค้าเกษตรหมดไป • เกษตรกรมีรายได้ มากขึ้น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ/ผู้ส่งออกไทย ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป ขยายส่งออกไปยังตลาดอาเซียนได้เพิ่มขึ้น สินค้าประเภทเดียวกันจากอาเซียน เข้ามาแข่งในไทย นำเข้าวัตถุดิบ จากอาเซียน ที่มีคุณภาพ /ราคาถูกได้ สินค้าไทยคุณภาพด้อยต้นทุนสูง จะเสียตลาด ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง คู่แข่งอาเซียนอาจใช้ประโยชน์จากตลาดใหญ่ขึ้นได้เช่นกัน ทำให้ต้นทุนของคู่แข่งก็อาจต่ำลงด้วย ตลาดใหญ่ขึ้นทำให้เกิด Economy of Scale (ผลิตมากขึ้น ต้นทุนลด) ต้นทุนผลิตลดลง ทำธุรกิจบริการ/ ลงทุน ในอาเซียนได้อย่างเสรี ไปตั้งธุรกิจ หรือขยายบริการในอาเซียนได้ ธุรกิจคู่แข่ง จากอาเซียน เข้ามาแข่งในไทย ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับผู้บริโภค/ประชาชนทั่วไปของไทย ภาษีเป็นศูนย์ สามารถเลือกซื้อสินค้านำเข้าจากอาเซียนที่หลากหลาย / ราคาถูกลง สินค้าไม่ได้คุณภาพ อาจเข้ามาจำหน่าย หากไม่มีการควบคุม ที่เข้มงวดเหมาะสม การเป็น AEC ทำให้ ผู้ผลิต/ ผู้ให้บริการ ในประเทศต้องปรับปรุง เพื่อให้แข่งขันได้ ทำให้สินค้าและบริการคุณภาพดีขึ้น ราคาถูกลง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
สินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบสินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • สินค้าที่ไทยได้เปรียบสินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ธัญพืช • น้ำตาลทราย ผลไม้สดอาหารสำเร็จรูป (อาหาร • กระป๋อง)เครื่องปรุงรส • สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์รถยนต์และชิ้นส่วน สินค้าที่ไทยเสียเปรียบ สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิด เสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) เมล็ดกาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) และ ชา (อินโดนีเซีย)
โครงสร้างการผลิตและการตลาดข้าว ปี 2553 ปี 53 ไนจีเรีย 16% (1,271,163 ตัน) เบนิน 6% (462,007 ตัน) ฟิลิปปินส์ 6% (507,169 ตัน) อัฟริกาใต้ 7% (537,266 ตัน) มาเลเซีย 2% (154,822 ตัน) อิรัก 2% (458,138 ตัน) ส่งออก 44% (ปี 53) ข้าวสาร 9,030,722 ตัน แป้งและผลิตภัณฑ์จากข้าว 190,009 ตัน (ณ ธค.53) (ณ ธค.53) ข้าวเจ้า : ไนจีเรีย เบนิน อัฟริกาใต้ อิรัก ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ข้าวนึ่ง : ไนจีเรีย เบนิน อัฟริกาใต้ เยเมน รัสเซีย ข้าวหอมมะลิ : สหรัฐฯ ไอเวอรี่โคส เซเนกัล ฮ่องกอง จีน ข้าวเหนียว : อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สหรัฐ จีน เบลเยี่ยม ปลายข้าว :เซเนกัล ญี่ปุ่น เนเธอแลนด์ แกมเบีย เบลเยี่ยม แปรสภาพ ข้าวสาร 96% บริโภคภายใน 32% 6,760,000 ตันข้าวสาร โรงงานเลี้ยงสัตว์ และอื่นๆ 20% ผลผลิต 32,116,063 ตันข้าวเปลือก • โครงสร้างการผลิตข้าวและการตลาด • 1. ผลิตเกินความต้องการในประเทศเกือบ 50 % • 2. ผลผลิตเฉลี่ย/ไร่ ต่ำมากเมื่อเทียบกับประเทศผู้ผลิตหลักของโลก • 3. เปิด AEC คู่แข่งมีต้นทุนต่ำกว่าไทย / คุณภาพใกล้เคียง / กำแพงภาษีไม่มี / ผลต้นทุนต่อ หน่วยสูง • 4. คู่แข่งพัฒนาการผลิตต่อเนื่อง • โอกาส • 1. โรงสีไทยมีศักยภาพการสี กำลังการผลิตเกินต้องการ / ผู้ส่งออกมีศักยภาพสูงควรเปิดตลาดลงทุนประเทศเพื่อนบ้านที่มีวัตถุดิบราคาถูก สีแปรส่งออก เพื่อคงความเป็นผู้ผลิต / ส่งออกข้าวอันดับหนึ่งของโลก • 2. นำเข้าข้าวต้นทุนต่ำ แปรรูปเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์โดยใช้การตลาดนำการผลิต ขยายตลาดรองรับก่อน • 3. ด้านผู้ผลิต (เกษตรกร) ต้องเร่งปรับตัวรองรับการแข่งขัน จากจุดแข็งของข้าวไทยสายพันธุ์ดี ศักยภาพการผลิต การส่งออก มีพร้อม • (1) Zoning เพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรรายย่อย ลดต้นทุนการผลิต (ใช้สายพันธุ์เดียวกัน ปัจจัยการผลิตที่เหมือนกัน กรรมวิธีการผลิตเดียวกัน เช่นเดียวกับรายใหญ่ • (2) ภาครัฐเสริมรักษาป้องกัน พันธุ์ข้าวเด่นคงอยู่กับไทยควบคู่การ R+Dส่งเสริมการปลูกข้าวที่เป็นตลาด Premium คงเอกลักษณ์ประเทศไทย • เสียโอกาส • การแข่งขันสูงหากผู้ผลิต + ผู้ประกอบการไม่พร้อมปรับตัว ไทยสูญเสียตลาด ทำพันธุ์ ~ 1.3 ล้านตัน ข้าวเปลือก 4%
โครงสร้างการผลิต/การตลาดมันสำปะหลัง ปี 2553/54 ผลผลิต 20.66 ล้านตันหัวมันสด • ส่งออก 83% โรงแป้ง 13 ล้านตัน แป้งมัน 3 ล้านตัน ลานมัน 7.66 ล้านตัน มันเส้น 3.22 ล้านตัน ใช้ภายใน1ล้านตัน ส่งออก1.95 ล้านตัน พลังงาน 0.42 ล้านตัน ส่งออก 2.61 ล้านตัน ใช้ภายใน 0.20 ล้านตัน • อุตสาหกรรมอาหาร/ กระดาษ/ เครื่องปรุงรส • ญี่ปุ่น/ไตหวัน/ • อินโดนิเซีย/จีน • อุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ /อาหารสัตว์ •จีน, เกาหลีใต้,ไต้หวัน • ผลิตเอทานอล
โครงสร้างการผลิตและการตลาดยางพารา ปี 2554 ประเทศผู้นำเข้า ยางพาราไทย น้ำยางสด ปี 54 พื้นที่ 12.749 ล้านไร่ ผลผลิต 3.36 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 53 9.28% ยางแท่ง 38.59 % ยางแผ่นรมควัน 25.09 % น้ำยางข้น 19.40 % อื่นๆ 16.92 % จีน 39.37% มาเลเซีย 15.45% ญี่ปุ่น 12.08% ยุโรป 8.21% เกาหลีใต้ 5.98% อเมริกา 4.11% อื่นๆ 14.80 % เศษยาง ภาคกลาง 12% ภาคใต้ 76 % ระยอง 4.38 % จันทบุรี 2.81 % ตราด 1.58 % ชลบุรี 1.28 % อื่นๆ 1.95 % สุราษฎร์ธานี 12.74 % สงขลา 9.78 % ตรัง 9.16 % นครศรีธรรมราช 8.64 % ยะลา 7.57 % นราธิวาส 7.55 % พังงา 4.38 % พัทลุง 3.31 % กระบี่ 3.97 % อื่นๆ 8.90 % วิถีการตลาด พ่อค้าท้องถิ่น ใช้ภายในประเทศปี 54= 12 % (420,000 ตัน) พ่อค้าในเมือง โรงงานแปรรูปยางพารา ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 11% คนกลาง -อุตสาหกรรมยางยานยนต์ 68.73% -อุตสาหกรปรมถุงมือยาง 10.82% -อุตสาหกรรมยางยืด 10.04% -อุตสาหกรรมยางอื่นๆ 10.41% (ยางรัดของ พื้นรองเท้า สายพาน กาว ฯ) ตลาดกลาง หนองคาย 2.99 % เลย 1.25 % ศรีสะเกษ 1.01 % บุรีรัมย์ 0.92 % อื่นๆ 4.83 % ผู้แปรรูป ผู้ใช้ยาง ในประเทศ ตลาดประมูล ท้องถิ่น เจ้าของสวน กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตร ผู้ส่งออก AFET (ผ่าน Broker) ผู้ใช้ยาง ต่างประเทศ โครงสร้างการผลิตและการตลาด โอกาส เสียโอกาส • ตลาดพึ่งพาการส่งออก 90% โดยส่งออกเป็นวัตถุดิบ • ขยายการเพาะปลูกมหาศาล • ใช้สิทธิประโยชน์จาก FTA ขยายตลาดได้มากขึ้น • หาผู้ลงทุน+ตั้งฐานการผลิตในไทย เพื่อผลิตสินค้าจากยางพารา ขยายตลาดส่งออกสินค้าทดแทน ส่งออกวัตถุดิบ • ประเทศเพื่อนบ้านมีการลงทุนจาก ผู้ซื้อรายใหญ่จากไทย ขยายการปลูกมหาศาล ความต้องการซื้อจากไทยจะลดลง หากไทยแข่งขันด้านคุณภาพและราคาไม่ได้
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โครงสร้างสินค้า ส่งออก ปี 49/50 250,224 ตัน ปี 50/51 292,071 ตัน ปี 51/52 473,999ตัน ปี 52/53(กค.52-มิย.53) 1,003,563 ตัน ปี 53/54(กค.53-มี.ค.54) 125,872 ตัน มาเลเซีย 38%เวียดนาม 35% อินโดนีเซีย 19% ฟิลิปปินส์ 5% ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ สุกร ไก่ไข่ ผลผลิตของเกษตรกร (ก.ค.-มิ.ย.) ปี 50/51 3.890 ล้านตัน ปี 51/52 4.249 ล้านตัน ปี 52/53 4.616 ล้านตัน ปี 53/54 4.454 ล้านตัน ปี 54/55 4.479 ล้านตัน พ่อค้าท้องถิ่น/ พ่อค้าคนกลาง ไก่เนื้อ49% (995 ล้านตัว)ไก่ไข่ 29% ( 76 ล้านตัว) สุกร 21% ( 12 ล้านตัว) โคนม 1%(0.55 ล้านตัว) โรงงานอาหารสัตว์ ปี 49/50 3.846 ล้านตัน ปี 50/51 3.964 ล้านตัน ปี 51/52 3.824 ล้านตัน ปี 52/53 4.275 ล้านตัน ปี 53/54 4.365 ล้านตัน เพชรบูรณ์ 15%นครราชสีมา 12% ตาก 9% น่าน 8% เลย 7% เชียงราย 7% นครสวรรค์ 5% ลพบุรี 4% นำเข้า ปี 49/50 90,687 ตัน ปี 50/51 296,545 ตัน ปี 51/52 514,429 ตัน ปี 52/53(กค.52-มิย.53) 241,529 ตัน ปี 53/54(กค.53-มี.ค.54) 271,853ตัน • โครงสร้างการผลิตและการตลาด • ผลิตเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมในประเทศ เป็นหลัก • ส่งออกและนำเข้าเล็กน้อยไม่ถึง 1% ของผลผลิตในประเทศ • การเปิดเสรี AEC / FTA มีโอกาส และเสียโอกาส • 3.1 โอกาส 1) อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ไทยเข้มแข็งใน AEC หากใช้เสรีการลงทุน ตั้งฐานการผลิตในประเทศเพื่อนบ้าน ที่ราคาวัตถุดิบต่ำกว่า • ไทย ขยายเครือข่ายอุตสาหกรรม • 2) นำเข้าเพื่อส่งออกประเทศที่สามโดยใช้จุดแข็งผู้ประกอบการส่งออก ภายใต้ Contract Farming • 3.2 เสียโอกาส ต้นทุนข้าวโพดไทนสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน หากนำเข้าเสรี เพื่อใช้ในประเทศ ส่งผลต่อราคาข้าวโพดในประเทศ ยกเว้น ผลิตเพื่อส่งออก • 4. การปรับตัว ภาครัฐ + เกษตรกร เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิต เพื่อลดต้นทุน ภาคเอกชน ขยายตลาดส่งออก , ขยายฐานการผลิตไปประเทศเพื่อนบ้าน ลาว 66% กัมพูชา 33% พม่า 1%
โครงสร้างการผลิตการตลาดปาล์มน้ำมัน ปี 2554 FFB 100 กก. = CPO 17 - 18 กก.CPO 100 กก. = RBD PO PFAD = 95 - 93+5 -7 กก.RBD PO 100 กก. =RBD PL+Stearin = 65-70+30-35 กก.หรือ ผลปาล์ม 5.88 กก. = น้ำมันดิบ 1 กก. น้ำมันดิบ 1.48 กก. = น้ำมันบริสุทธ์ 1 กก. ผู้ปลูกปาล์มสวนเกษตรกรรายย่อย สวนของโรงงานสกัดฯ สวนของบริษัทเอกชน โรงงานกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ 14 ราย (ตั้งกระจายอยู่ใน 8 จังหวัด) โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ โรงงานสกัดฯ 45 รายโรงงานหีบฯ 21 ราย 66 ราย (61 โรง)(ตั้งอยู่ใน 10 จังหวัดแหล่งผลิต) FFB CPO โรงงานสบู่/อาหารสัตว์ พื้นที่ให้ผล 3.754 ล้านไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 2,444 กก./ไร่ ต้นทุน 2.97 บาท/กก. อุตสาหกรรมบะหมี่สำเร็จรูป / ขนมกรอบ/นมข้นหวาน / ไอศกรีม RBD PO ผู้ส่งออก RBD PL ผลิตน้ำมันพืชบริโภค 900,000 ตันE (โรงกลั่นน้ำมันบริสุทธิ์) บริโภคในประเทศห้าง Modern Trade ร้านขายส่งร้านอาหาร น้ำมันปาล์มดิบ ปี 53 1,287,510 ตัน ปี 54 1,430,320 ตันE ผลปาล์มทะลาย ปี 53 8,223,135 ตัน ปี 54 8,939,502 ตัน ปี 54 ส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์~ 50,000 ตัน (โรงกลั่นฯ) ส่งออกน้ำมันปาล์มดิบ 6,000 ตัน (ม.ค.-เมย.54) (โรงสกัดฯ) (ประมาณการ) RBD ST โรงงานอาหารสัตว์ / สบู่ ผลิตไบโอดีเซล 340,000 ตันE สต็อคต้นปี67,787 ตัน(ทุกชนิดคิดในรูป CPO) กระบี่ 27% สุราษฎร์ธานี 27% ชุมพร 21% นครศรีฯ 4% สตูล 3% ตรัง 3% ประจวบฯ 3% ชลบุรี 3% โรงงานไบโอดีเซล(ชุมชน) ส่งออกไขปาล์ม สต็อคสิ้นปี360,000 ตันE(ทุกชนิดคิดในรูป CPO) นำเข้า60,000 ตัน(CPL) PFAD อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ โอกาส 1. ตลาดใหญ่ขึ้น Logisticถูกกว่า ลูกค้าอยู่ใกล้กว่าประเทศคู่แข่งเป็นโอกาส แต่ต้องสู้กับคู่แข่งได้ด้านผู้ผลิต(เกษตรกร) ต้องลดต้นทุนการผลิต ให้แข่งขันได้ โดยรวมกลุ่ม/Zoning ใช้สายพันธุ์ปัจจัยการผลิตเดียวกัน กระบวนการผลิตเหมือนกัน Cost/หน่วยลดลง ทั้งนี้รัฐเป็นกำลังสำคัญในการผลักดันคู่กับผู้ผลิต 2. ใช้สิทธิประโยชน์จาก AEC เคลื่อนย้ายการผลิตที่มีเกิน (ประมาณ 40% )ไปตั้งฐานในประเทศ เพื่อนบ้านชายแดนต่อเนื่องผลิตและขายในประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งปัจจุบันสามารถขยายการปลูก เพื่อทำอุตสาหกรรมน้ำมันพืช+ไบโอดีเซล โดย Contract farming 3. การผลิตในประเทศ ขยายผลผลิตสินค้าแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าให้มาขึ้นจากที่มี โครงสร้างการผลิต 1. ผลผลิตขยายตัว อนาคตหากส่งออกไม่ขยาย+การผลิตพลังงานทดแทนไม่ขยาย มีผลต่อราคาเกษตรกรขายได้ 2. ต้นทุน/หน่วยสูงกว่าคู่แข่ง AEC (มาเลเซีย อินโดนีเซีย) 3. โครงสร้างตลาดปัจจุบันบริโภคในประเทศเป็นหลัก เสียโอกาส 1. คู่แข่งมีมากขึ้น ในขณะที่มาตรการกีดกันต้องลดลง หากไม่ปรับตัวจะมีปัญหาด้านราคาตกต่ำ สินค้าล้นตลาด
ไม้ผล • ผลไม้ถือว่าเป็นสินค้าที่เป็นจุดแข็งของไทย เนื่องจากคุณภาพ และรสชาติได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ • การเปิด AEC ถือเป็น “โอกาส” ของผู้ผลิตผลไม้ไทย • แต่ที่ผ่านมาประเทศไทยเราจะส่งออกผลไม้ในลักษณะของผลไม้แปรรูปหรือแช่เย็น แช่แข็ง ในส่วนของผลไม้สดนั้นนับเป็น สินค้าส่งออกที่มีศักยภาพว่าจะเป็น อีกหนึ่งสินค้าที่มีอนาคตสดใสของ ภาคการเกษตรไทย
พืชสวนอุตสาหกรรม • พืชสวนอุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว มะคาเดเมีย กาแฟ ชา โกโก้ เป็นต้น • ยังมี “โอกาสอีกมาก” หากสามารถรู้จัก “ปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์” • ตัวอย่างเช่น น้ำมันปาล์ม กับยางพารา
พืชสวนอุตสาหกรรม: ปาล์มน้ำมัน ข้อมูลทั่วไป • อาเซียนนับเป็นแหล่งผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มรายใหญ่ของโลก • คู่แข่งที่สำคัญของไทย ได้แก่ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย • ส่งออกรวมกันร้อยละ 90 ของปริมาณส่งออกของโลก • ผลผลิตต่อไร่สูง(3,280 กิโลกรัม/ไร่ สำหรับมาเลเซีย และ 2,725 กิโลกรมต่อไร่สำหรับอินโดนีเซีย) • ผู้นำเข้ารายใหญ่ของโลกเป็นประเทศนอกอาเซียน คือ จีน อินเดีย สหภาพยุโรป และปากีสถาน
พืชสวนอุตสาหกรรม: ปาล์มน้ำมัน ปาล์มน้ำมันในไทย • ไทยเป็นประเทศผู้นำเข้าและส่งออกน้ำมันปาล์ม • ผลผลิตของไทยโดยเฉลี่ย 2,399 กิโลกรัม/ไร่ • ร้อยละ 50 ของผลผลิตถูกใช้ไปเพื่อการบริโภคในประเทศ • ราคาถูกกว่าน้ำมันพืชอื่นๆ สำหรับการบริโภคในครัวเรือน • นำไปใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โดยเฉพาะการผลิตไบโอดีเซล
พืชสวนอุตสาหกรรม: ปาล์มน้ำมัน ผลกระทบจากการเข้าเป็น AEC • การแข่งขันที่รุนแรงขึ้นโดยเฉพาะกับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันและโรงสกัด/กลั่น • ผลผลิตจากมาเลเซียและอินโดนีเซียอาจจะเข้ามาเป็นคู่แข่งสำคัญ • ประสิทธิภาพของไทยในการแข่งขันน้อยกว่า • อุตสาหกรรมที่ใช้น้ำมันปาล์มเป็นวัตถุดิบในการผลิตจะได้ประโยชน์ เช่นอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมพลังงาน • ต้นทุนวัตถุดิบถูกลง
พืชสวนอุตสาหกรรม: ยางพารา การผลิต • ปี 2553 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางพาราประมาณ 17.95ล้านไร่ • มีพื้นที่กรีดยางได้ประมาณ 12.4 ล้านไร่ พื้นที่ปลูกยางพาราส่วนมากอยู่ทางภาคใต้ของประเทศ (ร้อยละ 67) • รองลงมาคือทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ร้อยละ 17) ภาคกลาง (ร้อยละ 12) ภาคเหนือ (ร้อยละ 4) • การปลูกยางพาราส่วนใหญ่ของไทยจะมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากน้ำยางพารา มากกว่าการใช้ประโยชน์จากไม้ยางพารา
พืชสวนอุตสาหกรรม: ยางพารา • ปัจจุบันไทยยังเป็น “ผู้นำ” ด้านการส่งออกยางพารา • เริ่มสามารถควบคุมราคาได้เอง • ประเทศคู่แข่งเริ่มหันไปปลูกพืชชนิดอื่นเช่น ปาล์มน้ำมัน เป็นต้น • คู่แข่งขันสำคัญของไทยในตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม • “การพัฒนาปริมาณและคุณภาพวัตถุดิบยาง” เป็นประเด็นสำคัญสำหรับผู้ผลิตยางพาราของไทย
กลุ่มผัก : ผลกระทบจากFTAs • เชิงห่วงโซ่การผลิต • กลุ่มผู้ผลิตผักและผลไม้ เกษตรกรชาวสวนผักและผลไม้จะได้รับผลกระทบมากที่สุด • ต้องแข่งขันกับสินค้าผักและผลไม้นำเข้าประเภทเดียวกันจากประเทศอาเซียนอื่น • การลดภาษีนำเข้าทำให้การนำเข้าผักและผลไม้จากประเทศภาคีอื่นมีราคาที่ถูกลง • ขณะที่ผู้ประกอบการโรงงานผักและผลไม้แปรรูปได้รับประโยชน์ • ต้นทุนการผลิตลดลง • สามารถแข่งขันได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
จุดแข็งและจุดอ่อนของสินค้าเกษตรไทยจุดแข็งและจุดอ่อนของสินค้าเกษตรไทย จุดแข็ง 1. ไทยเป็นผู้ส่งออกสินค้าเกษตรหลัก อันดับหนึ่งของโลก ตลาดส่งออกเป็น ของไทย 2. ผู้ประกอบการแปรรูป และผู้ส่งออกมีศักยภาพสูง เมื่อเทียบกับคู่แข่ง 3. ตัวสินค้าเกษตรมีจุดเด่นเป็นที่ต้องการของตลาด (แต่ต้องรักษา / พัฒนา คุณภาพให้ดีขึ้น) 4. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประเทศได้เปรียบ (ใน AEC) จุดอ่อน • เกษตรกรเป็นรายย่อยเกิน 80% มีผลต่อต้นทุน / การพัฒนาการผลิต • ต้นทุนการผลิต สูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน (หากไม่มีมาตรการคุ้มกัน จะเสียโอกาส) • ขาดการพัฒนา • ภาครัฐ เอกชน เกษตรกร ขาดการบูรณาการร่วม • ขายผลผลิตเป็นวัตถุดิบส่วนใหญ่ รายได้น้อย มีระยะเวลาการเสื่อมของสินค้าเร็ว • พึ่งพาตลาดส่งออกเป็นหลัก
สิทธิประโยชน์ที่เกษตรกรพึงได้จากการเปิดเสรีทางการค้า (FTAs) • แก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำ และล้นตลาด • - ตลาดขยายใหญ่ขึ้น • - สามารถกระจายสินค้าสู่ประเทศภาคีสะดวก ไม่มีภาษี / ภาษีต่ำ • - เป็นประตูกระจายสินค้าสู่ประเทศข้างเคียงต่อเนื่อง • เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น • - รายได้เพิ่ม จากขายสินค้าเพิ่มขึ้น • - ต้นทุนต่ำลง เปิดเสรี นำเข้าเครื่องมืออุปกรณ์ ปัจจัยการผลิต • เข้าสู่ประเทศหลากหลาย มีให้เลือก ราคาต่ำลง • เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต จากการแลกเปลี่ยนความรู้และเทคโนโลยีการผลิตระหว่างกัน • ผู้ประกอบการ (ผู้ใช้สินค้าเกษตรเป็นวัตถุดิบ) ขยายการผลิต ส่งผลทางอ้อมต่อเกษตรกรให้ขายผลผลิตได้เพิ่มขึ้น
แนวทางการปรับตัวรองรับการเปิดเสรี (เกษตรกรและผู้ประกอบการต่อเนื่อง) 1. ลดต้นทุนการผลิตโดยเฉพาะเกษตรกร รายย่อย รวมกลุ่ม เพื่อลดต้นทุนการผลิตให้แข่งขันได้ 2. ปรับปรุงมาตรฐานสินค้าเกษตรกรให้ได้มาตรฐานตรงตามตลาดต่างประเทศต้องการ 3. พัฒนาและกำหนดมาตรฐานทางการค้าของไทย - มาตรฐานสุขอนามัย มาตรฐานเฉพาะสินค้า ระบบการตรวจสอบ และสิ่งแวดล้อมให้เป็นมาตรฐานสากล ส่งออกต่างประเทศ ไม่ประสบปัญหาข้อกีดกัน ควบคู่กับรองรับสินค้าที่เข้ามา ต้องได้มาตรฐานตามกำหนด เป็นการคุ้มครองผู้ผลิตในประเทศ 4. ส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรต่อเนื่อง เพื่อรองรับ 5. ผู้ประกอบการขยายฐานการผลิตออกสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การปรับตัวและการช่วยเหลือของภาครัฐการปรับตัวและการช่วยเหลือของภาครัฐ 1. ให้ความรู้ความเข้าใจ ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. แก้ไขกฏหมาย กฏระเบียบให้สามารถแข่งขันได้ 3. ใช้มาตรการคุ้มครองเกษตกรในประเทศ และมาตรการตอบโต้ทางการค้าระหว่างประเทศ ในกรณีจำเป็น 4. ช่วยเหลือบรรเทาผลกระทบที่เกิดจาการเปิดเสรีผ่านกองทุน FTA • ด้านการผลิต - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคการเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย) • ด้านการตลาด กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมการค้าต่างประเทศ เจ้าภาพ (กองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิต และบริการที่ได้รับผลกระทบจาการเปิดเสรีทางการค้า)
ได้เวลาเตรียมความพร้อมได้เวลาเตรียมความพร้อม • ศึกษาข้อมูลพันธกรณีในกรอบต่างๆ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ • ติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด (รู้รอบ รู้ทัน) • ปรับเปลี่ยนทัศนคติจากเชิงรับ เป็น เชิงรุก (ใช้โอกาสที่เปิดกว้างมากขึ้น) • รู้เขา รู้เรา (สร้างความแตกต่างให้กับสินค้า/บริการจากจุดแข็งที่มีอยู่) • เข้าใจประเด็นเทคนิค (แหล่งกำเนิดสินค้า การคำนวณต้นทุน ฯลฯ) • ธุรกิจจะแข่งขันกันที่ความคิดสร้างสรรค์ คุณภาพ/มาตรฐาน และ การให้บริการที่จะผูกมัดใจลูกค้าของเรา
สกต. และ TABCO กับ AEC • ใกล้ชิดกับประชาชนในระดับชุมชน-เกษตรกร ส่งเสริมการกระจายความรู้ • ผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินที่เหมาะสมกับบริบทที่อาจจะเปลี่ยนไป • เปิดรับกลุ่มลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น • พัฒนาธุรกิจใหม่ๆ ขยายช่องทางการรับบริการ รองรับจำนวน transaction ที่จะเพิ่มมากขึ้น • เตรียมพร้อมรับการแข่งขัน • สร้างพันธมิตรกับองค์กรไทย/อาเซียน เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนไปพร้อมกัน • ติดตามข่าวสารความคืบหน้า
35 ขอบคุณ “เรียนรู้ ใส่ใจ ใช้ประโยชน์ AEC” Call Center : 0-2507-7555 www.dtn.go.th