1 / 83

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ระบบประกันสุขภาพและทิศทางการจัดบริการด้านสุขภาพในชุมชนของ อปท. ร่วมกับ สถานบริการของกระทรวงสาธารณสุข. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม songkramchai@gmail.com. ประวัติวิทยากร. สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มสธ.

walt
Download Presentation

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบประกันสุขภาพและทิศทางการจัดบริการด้านสุขภาพในชุมชนของ อปท. ร่วมกับสถานบริการของกระทรวงสาธารณสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม songkramchai@gmail.com

  2. ประวัติวิทยากร สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มสธ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) ม.มหิดล บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต M.B.A. ม. ขอนแก่น นิติศาสตรบัณฑิต ม. รามคำแหง Ph.D.Health Science, Swansea University, UK นักเรียนทุนรัฐบาลไทย (ก.พ.) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เคยดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดี รองคณบดีหัวหน้าสาขา ใน มมส ผู้ริเริ่มก่อตั้ง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มมส อาจารย์วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ. ขอนแก่น ช่วยราชการ กองสาธารณสุขภูมิภาค, กองแผนงาน, สภาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข songkramchai@gmail.com, 080-7429991

  3. ประเด็นการนำเสนอ • บทนำ • กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคใหม่ • ระบบบริการสุขภาพไทยและการปรับเปลี่ยน • ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่กับการสร้างเสริมสุขภาพ • การพัฒนาสุขภาพในพื้นที่โดยกลไกกองทุนสุขภาพ

  4. บทนำ

  5. กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคใหม่กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคใหม่

  6. กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคใหม่กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคใหม่ • การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร- population change • ชีวิตเป็นดิจิตอล-life style • กระแสสีเขียว-Green society • กระแสสร้างสุขภาพ Health trends • ความรู้และภูมิปัญญา Knowledge and wisdom • ความคิดสร้างสรรค์ Creative and Value added • ของแท้เท่านั้นที่อยู่รอด Professional era

  7. การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรการเปลี่ยนแปลงด้านประชากร • การเชื่อมกันของคนทั้งโลก ง่ายและเร็ว • องค์กรจะเล็กลง • โอกาสเปิดกว้าง สำหรับคนที่เก่ง • เกาหลีและจีนบุกโลก • จีนเป็นทุนนิยมแบบใหม่ • อาเซียน 600 ล้านคน

  8. AEC อาเซียน และ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

  9. อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 อาเซียน ASEAN(Associationof South East Asian Nations) • ก่อตั้งเมื่อปี 2510(1967) ครบรอบ 40 ปีเมื่อปีที่แล้ว (2550) • จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก

  10. พิมพ์เขียว AEC • AEC Blueprint ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน(ASC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ตารางดำเนินการStrategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  11. AEC เป้าหมาย AEC แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก

  12. AEC แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม มุ่งดำเนินการให้เกิด……. เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น

  13. CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand China Japan AEC Korea India การขยาย FTA ของอาเซียน – อนาคต… ASEAN10 : 572 ล้านคน( 9%ของประชากรโลก ) GDP 1,275 พันล้าน$( 2% ของ GDP โลก) EAFTA (ASEAN +3) : ประชากร 2,068 ล้านคน( 31% ของประชากรโลก ) GDP 9,901 พันล้าน$ (18% ของ GDP โลก) CEPEA(ASEAN +6) :ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 12,250 พันล้าน$ (22% ของ GDP โลก)

  14. ชีวิตดิจิตอล • 1984 โลกมีอุปกรณ์เชื่อต่ออินเทอร์เน็ต 1000 เครื่อง • 1992 โลกมีอุปกรณ์เชื่อต่ออินเทอร์เน็ต 1 ล้าน เครื่อง • 2008 โลกมีอุปกรณ์เชื่อต่ออินเทอร์เน็ต 1000 ล้านเครื่อง

  15. โลกออนไลน์ • สื่อกว่าจะมีคนใช้ 50 ล้านคน • โทรศัพท์ 38 ปี • โทรทัศน์ 13 ปี • อินเทอร์เน็ต 4 ปี • Facebook 2 ปี • ข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่ในอินเทอร์เน็ต สองสัปดาห์ มีมากกว่าที่เขียนลงในหนังสือพิมพ์ สารสารทั่วโลก 1 ปี

  16. Facebook- Mark Zuckerberg • ว วชิรเมธี มีแฟนเพจ 700 000 คน • ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 550 000 คน • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 880 000 คน • เลดี้ กาก้า 48 ล้านคน • มีทุกสิ่งในโลกออนไลน์ • ตลาดอยู่ในโลกออนไลน์

  17. กระแสสีเขียว • วันโลกแตก • กรุงเทพฯ เมืองบาดาล • อากาศร้อน • ภัยพิบัติที่เกิดถี่ขึ้น • สีเขียวคือทางออก

  18. กระแสสร้างสุขภาพ • แพทย์รักษาคนไม่ป่วย • ความงามและสุขภาพดี • พันธุกรรมและรหัสพันธุกรรม DNA

  19. กระแสความรู้และภูมิปัญญากระแสความรู้และภูมิปัญญา • ความรู้ดีๆในอดีตที่ถูกมองข้ามจะกลับมา • สร้างวัฒนธรรมขายได้ • เปลี่ยนการศึกษาใหม่ • เอาตำราเป็นศูนย์กลางมาเป็นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง • เดิมเน้นเนื้อหาในการสอนเปลี่ยนเป็นเน้นวิธีการสร้างการเรียนรู้ • เน้นท่องจำมาเป็นคิดวิเคราะห์ • เน้นปริญญามาเป็นเรียนรู้ตลอดชีวิต • การศึกษาไม่ได้อยู่ที่โรงเรียนและมหาวิทยาลัย แต่อยู่ที่สังคม

  20. กระแสความคิดสร้างสรรค์กระแสความคิดสร้างสรรค์ • Creative + knowledge = Innovation • วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี่ • DOS to window to touch screen • 1+1=3

  21. ของแท้เท่านั้นที่จะอยู่ได้ของแท้เท่านั้นที่จะอยู่ได้ • กรีซ ล้ม • เถ้าแก่วัยรุ่น • แฟนพันธ์แท้ • เดอะ สตาร์

  22. ระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพในภูมิภาคระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพในภูมิภาค

  23. การเปลี่ยนอย่างรวดเร็วของสังคมการเปลี่ยนอย่างรวดเร็วของสังคม • Regional integration and economic liberalization • Expansion of infrastructures • Greater use of natural resources • Intensification of financial, information and people flows • Changing lifestyles

  24. … but Inequal • Income gaps persistent and even increasing • Differential costs and benefits to different countries and groups

  25. ระบบบริการในพื้นที่กับงานสร้างเสริมสุขภาพระบบบริการในพื้นที่กับงานสร้างเสริมสุขภาพ

  26. ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของระบบหลักประกันสุขภาพประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของระบบหลักประกันสุขภาพ

  27. การปฏิรูประบบบริการสุขภาพการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ ก่อน-UC ก่อน 2554 integrated model สธ หลัง-UC 2544-2554 Purchaser-provider split ผู้ซื้อบริการ ผู้จัดบริการ ผู้จัดบริการ Next step Area health 2555 Board ผู้รับบริการ ผู้รับบริการ ผู้จัดบริการ ผู้ซื้อบริการ ผู้รับบริการ

  28. งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ งบปี 2555=2,895 บาท/คน งบเพิ่มมากขึ้น จากปี 2545=266%

  29. สรุปสิบปีของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสรุปสิบปีของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพมากขึ้น • ป้องกันการล้มละลายจากโรคหัวใจ มะเร็ง เอดส์ ไตวาย • ระบบบริการปฐมภูมิและ P&P ยังมีข้อจำกัด

  30. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555 – 2559 ผ่านคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554

  31. กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพฯ 55-59 32

  32. หลักประกันสุขภาพเพื่อคนไทยใน 5 ปีข้างหน้า จากให้สิทธิทั่วถึง เป็นธรรม สู่หลักประกันสุขภาพที่ ประชาชนเข้าถึง ด้วยความมั่นใจ

  33. 5 นโยบายเน้นหนักใน 5 ปีข้างหน้า • ระบบบริการใกล้บ้านใกล้ใจและสุขภาพชุมชน (ระบบบริการปฐมภูมิ และกองทุนสุขภาพ อปท.) • สร้างนำซ่อม ช่วยคนไทยห่างไกลโรค ( P&P) • ป้องกันและควบคุมภัยเงียบ ( DM/HT ) • ป้องกันล้มละลายจากโรคค่าใช้จ่ายสูง • (หัวใจ/มะเร็ง/ไตวาย) • 5. บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ • (มิตรภาพบำบัด เพื่อนช่วยเพื่อน ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ผู้ป่วย และผู้สูงอายุ)

  34. การบริหารภาครัฐแนวใหม่New Public Management (NPM) เป้าประสงค์ เพิ่มประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และความรับผิดชอบของภาครัฐ Responsibility - แยกบทบาทนโยบาย กำกับจากการจัดบริการ - หน่วยบริการมีอิสระบริหาร Performance - เน้นผลลัพธ์การจัดบริการ - กลไกตลาด/การแข่งขัน Accountability - ประชาชนเป็นศูนย์กลาง - ตอบสนองความจำเป็นด้านสุขภาพ

  35. ข้อเสนอการพัฒนาระบบบริการสุขภาพข้อเสนอการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระบบ บริการสุขภาพ 39

  36. สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ ระบบบริการสุขภาพ ระบบบริการ ระบบสนับสนุนบริการ EMS : Emergency Medical Services ตติยภูมิ ขั้นสูง ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ Referral System PHER : Public Health Emergency Response 40

  37. ระ บบบริ การ ภารกิจพัฒนา ระบบสุขภาพ ที่มุ่งเน้น

  38. ภารกิจบริการสุขภาพ บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข • ระบบบริการสุขภาพ แบบเบ็ดเสร็จผสมผสาน 4 มิติ • 1.ส่งเสริมสุขภาพ 2.ป้องกันโรค • 3.รักษาพยาบาล 4.ฟื้นฟูสมรรถภาพ • สัดส่วนบริการสุขภาพ (SERVICE SPECTRUM) • ปฐมภูมิให้บริการ 1,2 >3,4 • ทุติยภูมิ ตติยภูมิให้บริการ 3,4>1,2 • ทุกหน่วยระดับเห็นพ้องต้องจัดบริการครบ • รพศ. รพท.อาจมอบอปท.ดำเนินการปฐมภูมิ • ภารกิจบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข 4 ส่วน • 1.รักษาฟื้นฟู 2.ส่งเสริมป้องกัน • 3.ควบคุมโรค 4.คุ้มครองผู้บริโภค Primary Secondary Tertiary ระบบบริการสุขภาพ ภารกิจกระทรวง ๔กลุ่ม

  39. Excellent Center Tertiary Medical Care Tertiary Care (3 Care) Secondary Care (2 Care) Primary Care (1 Care) Referral Center Secondary Medical Care Special Care Referral System Primary Medical Care General Practice Family Practice Primary Health Care Self-Care Holistic Care IntegratedCare Continuous Care คุณภาพบริการ เชื่อมโยง ไม่มีช่องว่าง ไม่ซ้ำซ้อน ระบบบริการสุขภาพแบบบูรณาการ (Integrated Health Care System)

  40. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบบเครือข่าย • บนหลักการ • ประกันคุณภาพ • ประกันราคา • เข้าถึงบริการ • บริการระดับสูง ต้อง • คุ้มค่าการลงทุน • ความเชี่ยวชาญเฉพาะ • เป็นเครือข่ายบริการ 2 ล้านคน Ex. Cent. 1 ล้านคน ตติยภูมิ 2 แสนคน ทุติยภูมิ ระดับ 3 8 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 2 3-5 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 1 ปฐมภูมิ 1 หมื่นคน บริการระดับต้น ประชาชน-ท้องถิ่น ดำเนินการได้ ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง แพทย์ระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ ระดับต้น 1: 10,000 GP:SP = 40:60

  41. Seamless health service network • เชื่อมโยงบริการ3 ระดับ (ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ) ตามสภาพ ภูมิศาสตร์ และคมนาคม • 12พวงบริการ โดยแต่ละพวงบริการ ครอบคลุม 4-8 จังหวัด ปชก 4-6ล้าน คน มีกรรมการบริหารเครือข่าย 1 ชุด ภาคกลาง 3 เครือข่าย ภาคใต้ 2 เครือข่าย ภาคอีสาน 4 เครือข่าย ภาคเหนือ 3เครือข่าย นครชัยบุรินทร์

  42. Provincial health service network Referral hospital Cascade Level . • สามารถรองรับการส่งต่อตาม • มาตรฐานระดับจังหวัดได้อย่าง • สมบูรณ์ อย่างน้อย 1 เครือข่าย • - รพท.เป็นแม่ข่าย รับผิดชอบการ • จัดบริการของ รพช.และCUP • Refer นอกเครือข่าย • เท่าที่จำเป็น • บริหารในรูปแบบ • กรรมการ A advance รพศ. High level S standard รพท. M1 mid level 1 รพท.ขนาดเล็ก รพช.ขนาดใหญ่ M2 mid level 2 เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 first level เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-3 primary

  43. เปรียบเทียบ ชนิดสถานบริการแบบเก่ากับแบบใหม่ Referral hospital Cascade Level . A advance รพศ. รพศ. High level S standard รพท. รพท. รพช.ขนาดใหญ่ ที่พร้อมเป็น รพท. M1 mid level 1 รพท.ขนาดเล็ก รพช.ขนาดใหญ่ รพช. Node M2 mid level 2 รพช.ใหม่ 10เตียง รพช.2.1 รพช.2.2 เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 first level เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-3 primary รพ.สต เครือข่าย รพ.สต เดี่ยว PCU เขตเมือง

  44. การพัฒนาสุขภาพในพื้นที่โดยกลไกกองทุนสุขภาพการพัฒนาสุขภาพในพื้นที่โดยกลไกกองทุนสุขภาพ

  45. ผลของกองทุนสุขภาพตำบลต่อการเสริมพลังอำนาจท้องถิ่นและชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพในชุมชนผลของกองทุนสุขภาพตำบลต่อการเสริมพลังอำนาจท้องถิ่นและชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพในชุมชน ทีมวิจัยจาก สวปก

  46. วัตถุประสงค์การศึกษา • เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงบทบาทและการมีส่วนร่วม อปท. องค์กรชุมชน และเจ้าหน้าที่ สธ. • เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสนับสนุนการเสริมพลังอำนาจแก่ท้องถิ่นและชุมชนด้านสุขภาพ • ต้นทุนเดิมของชุมชน (บริบท ความเข้มแข็ง ลักษณะผู้นำ ศักยภาพบุคลากร) • การสนับสนุนจาก สปสช. • การสนับสนุนในพื้นที่ (จังหวัด อำเภอ) • การมีโครงการสุขภาพชุมชนจากแหล่งทุนอื่น • เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากองทุนตำบลเพื่อเสริมพลังอำนาจด้านสุขภาพแก่ท้องถิ่นและชุมชน

More Related