240 likes | 371 Views
กลุ่ม 5 การต่างประเทศและการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ. การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน วันที่ 26-27 มีนาคม 2548 ณ ทำเนียบรัฐบาล. ยุทธศาสตร์ที่ 5.1 : การดำเนินนโยบายต่างประเทศเชิงรุก. เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
E N D
กลุ่ม 5 การต่างประเทศและการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน วันที่ 26-27 มีนาคม 2548 ณ ทำเนียบรัฐบาล
ยุทธศาสตร์ที่ 5.1 : การดำเนินนโยบายต่างประเทศเชิงรุก • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ยกบทบาทของประเทศไทยให้โดดเด่นและเป็นที่ยอมรับในเวทีโลก • ให้ประเทศไทยมีส่วนร่วมสำคัญในการให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาสำคัญของโลกและภูมิภาค • เสริมสร้างความมั่นใจของต่างชาติที่มีต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 5.1 : การดำเนินนโยบายต่างประเทศเชิงรุก
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ 1 ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านมีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกันในทุกระดับ 2. ผู้นำรัฐบาลสามารถพูดจากันอย่างเปิดอกได้ทุกเรื่อง 3. เพื่อนบ้านให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและดำเนินการตามพันธกรณีที่ผูกพันกับไทย 4. สร้างความรุ่งเรืองให้แก่เพื่อนบ้านเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีสันติสุขและก้าวไปข้างหน้าด้วยกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ 1 ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ 2 กรอบความร่วมมือด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. บทบาทนำของไทยเป็นที่ยอมรับในภูมิภาค 2. เศรษฐกิจไทยและเพื่อนในภูมิภาคมีความเชื่อมโยงและเกื้อกูลส่งเสริมซึ่งกันและกัน 3. ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยในเวทีโลก 4. ปัญหาที่สำคัญภายในประเทศได้รับการแก้ไขโดยดำเนินการที่ต้นตอของปัญหาซึ่งอยู่ในต่าง ประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ 2 กรอบความร่วมมือด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ 2 กรอบความร่วมมือด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค
2 กรอบความร่วมมือด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ 2 กรอบความร่วมมือด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ (3.ความร่วมมือภายใต้กรอบอาเซียนและกรอบความร่วมมือเอเชีย) • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • อาเซียนมีการรวมตัวกันอย่างแข็งแกร่งและสามารถก้าวไปสู่เป้าหมายร่วมกันในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนทั้ง 3 ด้านได้อย่างสมบูรณ์ • อาเซียนมีความสัมพันธ์กับประเทศนอกกลุ่มมากขึ้น และบทบาทของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศเด่นชัดขึ้น • ประเทศในเอเชียมีการรวมตัวกันในลักษณะ Asia Wide cooperation และเกิดสำนึกร่วมกันของเอเชีย • เอเชียสามารถสร้างนวัตกรรมทางการเงินที่เหมาะสมสำหรับตนเอง
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ (3.ความร่วมมือภายใต้กรอบอาเซียนและกรอบความร่วมมือเอเชีย)
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ (4. ความร่วมมือกับอนุภูมิภาคในเอเชีย) • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ศักยภาพในความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเอเชียใต้ถูกนำมาใช้ได้อย่างเต็มที่ • เอเชียตะวันตกให้ความสำคัญกับไทยในทุกมิติและมีความร่วมมือกันทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงที่ใกล้ชิด โดยไม่มีช่องว่างทางวัฒนธรรมและศาสนา • ความสัมพันธ์กับไทยและเอเชียกลางมีความใกล้ชิดและมีความร่วมมือกันเพิ่มมากขึ้นในทุกด้าน
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ (4. ความร่วมมือกับอนุภูมิภาคในเอเชีย)
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ (5. สานต่อและขยายความร่วมมือในลักษณะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์) • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • การยอมรับสถานะของไทยในสายตาของประเทศต่างๆ ดีขึ้น • อำนาจต่อรองของไทยกับประเทศคู่ค้าและพันธมิตรสำคัญมีเพิ่มมากขึ้น • ประเทศไทยมีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือประเทศกำลังพัฒนาร่วมกับนานาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5.2 : ส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่างๆกับนานาประเทศ (5. สานต่อและขยายความร่วมมือในลักษณะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์)
ยุทธศาสตร์ที่ 5.3: ความร่วมมือภายใต้กรอบพหุภาคีและการสร้างบทบาทในเวทีโลก • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ประเทศไทยอยู่ในจอเรดาห์ของนานาประเทศ โดยเฉพาะพันธมิตรและคู่ค้าสำคัญ • พันธมิตรสำคัญยอมรับไทยในด้านสันติภาพและการพัฒนาระหว่างประเทศ และหันมาให้ความร่วมมือกับไทยเพิ่มมากขึ้น (เศรษฐกิจ การเมือง และความมั่งคง) • คนไทยได้รับประโยชน์จากความร่วมมือกรอบพหุภาคี และความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ • นานาประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่พัฒนาแล้วยอมรับในมาตรฐานด้านต่างๆ ของไทย • ปรัชญาการพัฒนาและกิจกรรมตามโครงการอันเนื่องจากพระราชดำริเป็นที่รับรู้และได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5.3: ความร่วมมือภายใต้กรอบพหุภาคีและการสร้างบทบาทในเวทีโลก
ยุทธศาสตร์ที่ 5.3: ความร่วมมือภายใต้กรอบพหุภาคีและการสร้างบทบาทในเวทีโลก
ยุทธศาสตร์ที่ 5.4: ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • โครงสร้างทางเศรษฐกิจภายในของไทยได้รับการปรับตัวและขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยได้รับการพัฒนาจนทำให้ไทยมีบทบาทนำในการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาค • การค้าระหว่างประเทศขยายตัวอย่างมั่นคงและต่อเนื่อง • การดำเนินยุทธศาสตร์เชิงรุกด้านการค้าระหว่างประเทศของไทยมีเอกภาพ • คนไทยได้รับประโยชน์จากห่วงโซ่ราคาในการส่งสินค้าออกไปขายในต่างประเทศเพิ่มขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่ 5.4: ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5.4: ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5.5 : การทูตเพื่อประชาชน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ คนไทยมีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในนโยบายต่างประเทศและเกิดความภูมิใจต่อสถานะและบทบาทของไทยในประชาคมโลก
ยุทธศาสตร์ที่ที่ประชุมมีมติให้ย้ายไปอยู่กลุ่มยุทธศาสตร์อื่นยุทธศาสตร์ที่ที่ประชุมมีมติให้ย้ายไปอยู่กลุ่มยุทธศาสตร์อื่น