270 likes | 537 Views
PROF.DR.ANURAK PANYANUWAT UNSERV, CHIANG MAI UNIVERSITY www.cmu.ac.th uniserv.ac.th. เรียนอย่างไรให้จบการศึกษาตามเป้าหมาย บรรยายพิเศษแก่ศิษย์เก่าบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราช ภัฏ เชียงใหม่ วันที่ 20 เมษายน 2555 ณ Green lake Hotel เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Chiang Mai University
E N D
PROF.DR.ANURAK PANYANUWATUNSERV, CHIANG MAI UNIVERSITYwww.cmu.ac.th uniserv.ac.th เรียนอย่างไรให้จบการศึกษาตามเป้าหมาย บรรยายพิเศษแก่ศิษย์เก่าบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วันที่ 20 เมษายน 2555 ณ Green lake Hotel เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Chiang Mai University www.cmu.ac.th
เรื่องเล่าวันนี้ • รู้ระเบียบ ข้อบังคับ การศึกษา เนื้อหา ช่วงเวลา • รู้เรื่องการวิจัย และสังเคราะห์ กับถอดบทเรียน • การทำวิทยานิพนธ์ กับการพบกรรมการที่ปรึกษา • การเตรียมตัวเขียนบทความส่งวารสาร ในกรณีของบัณฑิตศึกษา • การปฏิบัติตัวหลังสำเร็จการศึกษา
รู้เขา รู้เรา • รู้ระเบียบ ข้อบังคับ การศึกษา • รู้และเข้าใจเนื้อหา ที่ศึกษา • มีแผนการศึกษาของตัวเอง ช่วงเวลา • มีทฤษฎี แนวคิด งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Back up • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับที่ปรึกษา
อย่าพยายามทำตัวเป็นภาระ ของอาจารย์ที่ปรึกษาเกินจำเป็น
ช่วยเหลือกันบ้างระหว่างเพื่อนช่วยเหลือกันบ้างระหว่างเพื่อน
รู้เทคนิค มนุษยสัมพันธ์ • กับเพื่อน • ผู้สอน • กรรมการที่ปรึกษา/นัดหมาย • เจรจา และประสานกับบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อให้โอกาสอาจารย์ที่ ปรึกษาได้ช่วยเลือก ประธานสอบ เพราะบางคนทำผิดบทบาท • กรรมการสอบ (หลังสอบ)
การทำวิทยานิพนธ์ - มีแผน/เดินตามแผน/ปฏิทินงาน - เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์ - ยึดวัตถุประสงค์ /คำถามวิจัย - พบอาจารย์ที่ปรึกษา/ประสานงาน - ค้นคว้า - กรอบแนวคิด ที่ BACK UP - การสร้าง หรือค้นพบองค์ความรู้ใหม่
แนวคิด/วิจัย กรอบแนวคิด คำถามการวิจัย งานที่เกี่ยวข้อง เวที รายงาน วิธีคิดในการมองงานวิจัย แผนภูมิ กระบวนการวิจัย วิธีการวิจัย
การพัฒนาเครื่องมือวิจัยและการรวบรวมข้อมูล การพัฒนาเครื่องมือวิจัยและการรวบรวมข้อมูล เครื่องมือวิจัยเป็นสื่อเชิงกลไกที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เพื่อหาคำตอบให้แก่คำถามการวิจัยที่สอดคล้องกับกรอบแนวคิดการวิจัย
การแตกวัตถุประสงค์การวิจัยสู่การสร้างเครื่องมือการแตกวัตถุประสงค์การวิจัยสู่การสร้างเครื่องมือ วัตถุประสงค์ย่อยรายข้อ ประเด็นคำถาม (มิใช่ตัวคำถาม) วัตถุประสงค์หลัก วิธีการจัดเก็บ ข้อมูลของแต่ละแหล่งข้อมูล ประเภทของ เครื่องมือที่ใช้ เก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล - ปฐมภูมิ - ทุติยภูมิ การแปลผลตามเกณฑ์ / บริบท วิธีการวิเคราะห์ตาม แต่ละวัตถุประสงค์
หัวข้อวิจัย คำถามการวิจัย วัตถุประสงค์ ประเด็นคำถาม วัตถุประสงค์ย่อย ขอบเขตการวิจัย เครื่องมือวิจัย แหล่งข้อมูล สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ
แนวทางการเลือกใช้เครื่องมือวิจัยจัดเก็บข้อมูล แนวทางการเลือกใช้เครื่องมือวิจัยจัดเก็บข้อมูล บางประเด็นคำถาม อาจต้องใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลมากกว่าหนึ่งชนิด เพื่อความสมบูรณ์ของคำตอบและหลักฐานอ้างอิง
เครื่องมือวิจัย ทางวิทยาศาสตร์/ สุขภาพ • เครื่องมือวิจัยทาง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เครื่องมือวิจัยทางสังคมศาสตร์ / มนุษย์ศาสตร์ ประเด็นคำถาม แบบสัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้าง ประเด็นสัมภาษณ์ ประเด็นวิเคราะห์ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์อย่าง ไม่มีโครงสร้าง ประเด็นการอภิปราย ประเด็นการอภิปราย กลุ่มย่อยเจาะลึก (Focus Group Discussion) แบบสังเกตการณ์ ประเด็นคำถามสำหรับการประเมินชุมชนอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Rural Appraisal -PRA) และ Rapid Rural Appraisal - RRA อื่น ๆ การผสมผสานที่เหมาะสม
1. วัตถุประสงค์หลักการวิจัย • 1.1 วัตถุประสงค์ย่อย • 1.1.1 ประเด็นคำถาม • 1.1.2 ประเด็นคำถาม PRA Focus Group Discussion ประเด็นวิเคราะห์ เนื้อหา เอกสาร ประเด็นการสัมภาษณ์ ประเด็นวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม เช่น คนอีสานเอาขี้เถ้าต้นเซือก (เผาแล้วจะมีสีขาวนวล) มาผสมกับมะขามเปรี้ยว กลายเป็นน้ำมะขามหวานไปได้ เพราะฉะนั้น ทำไมและมีคุณสมบัติ / เงื่อนไข พรรณนา เชิงสถิติวิเคราะห์ เชิงวิทยาศาสตร์ (ตามเหมาะสม) วิธีอื่น ๆ วิเคราะห์ข้อมูล
Report Writing Always use your university format / or the donor’s format
แนวทางการเขียนรายงานการวิจัย แนวทางการเขียนรายงานการวิจัย เป็นการเรียบเรียงผลการศึกษาให้ตอบคำถามและ วัตถุประสงค์การวิจัยอย่างมีเหตุผล ภายใต้แนวคิดและทฤษฎี โดยมีพยานหลักฐานที่ยืนยันและพิสูจน์ได้
ตรวจสอบว่า นักศึกษา ได้......คุณสมบัติพิเศษอะไรบ้าง - มี VISION - คุณธรรม - ทักษะ - ผู้นำวิชาการ และปฏิบัติได้ - ไม่เป็นชาล้นถ้วย รับฟังเสมอ - อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักอดทน นับ 1-100 ได้
การเตรียมจบ - รู้แหล่งข้อมูล รู้ ITรู้วิธีและระบบACCESS แหล่งข้อมูล • ดูความสมบูรณ์ของ THESIS • ผลงานวิชาการ การนำเสนอตามระเบียบ ข้อบังคับ / สื่อ/วารสาร • ระวังโจรกรรมทางวิชาการ
ข้อระวัง! • บทความที่ส่ง จะต้องไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน และผู้เขียนจะต้องไม่ส่งบทความเพื่อไปตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่นในเวลาเดียวกัน • หลักเกณฑ์สำหรับผู้เขียนบทความ • ต้องไม่มีเจตนาส่งข้อมูลเท็จ หรือเขียนบทความแบบนั่งเทียน • ต้องเป็นผลงานของผู้เขียนเอง หรือกลุ่มแต่ต้องระบุรายชื่อผู้เขียนทุกคนตามความเป็นจริง ระบุชื่อผู้วิจัยหลักให้ชัดเจน • ต้องไม่ส่งบทความที่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารอื่น โดยไม่ระบุว่าได้เสนอผลงานนั้นในวารสารใดบ้างอย่างถูกต้องและสมเหตุสมผล • ต้องส่งต้นฉบับที่ได้รับการรับรองจากผู้เกี่ยวข้องที่แท้จริง
ระวังโจรกรรมทางวิชาการระวังโจรกรรมทางวิชาการ • การตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการในกรณีที่ถือว่าเป็นการนำผลงานในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการ มากกว่าหนึ่งฉบับในลักษณะที่ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ รวมทั้งการลอกเลียนผลงานทางวิชาการหรือการโจรกรรมทางวิชาการ • (สภาวิชาการ ม.ช. ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2553 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 ได้มอบหมายให้ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและคุณภาพการศึกษา ศ. ดร.เกตุ กรุดพันธ์ ศ. ดร.นิวัตน์ มณีกาญจน์ และ ศ.ดร.วัชระ กสิณฤกษ์ ร่วมกันพิจารณากำหนดหลักเกณฑ์ขึ้น)
กรอบการพิจารณา • ความหมายของคำว่า “การโจรกรรมทางวิชาการ” • การนำผลงานเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการมากกว่าหนึ่งฉบับในลักษณะที่ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ • การนำส่วนหนึ่งของผลงานของผู้อื่นมาอ้างในผลงานของตน (Reference) โดยไม่อ้างถึงผู้ค้นคว้าคนแรก • กรณีที่เป็นงานวิจัยร่วม ควรกำหนดสัดส่วนผลงานของผู้วิจัยหลักและผู้วิจัยร่วมอย่างไร (สภาวิชาการ มช. ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2553 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553)
การโจรกรรมทางวรรณกรรม” หรือ “การขโมยความคิด” (Plagiarism) • หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบเหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง • ถือเป็น “ความไม่สุจริตทางวิชาการ”(Academic Dishonesty) หรือ “การฉ้อฉลทางวิชาการ” (Academic Fraud) และผู้ที่กระทำผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (Academic Censuse)
ถ้าเป็นนักศึกษา อะไรจะเกิดขึ้น? *ในวงวิชาการ การโจรกรรมทางวรรณกรรมโดยนักศึกษาถือเป็นการกระทำความผิดขั้นร้ายแรงมาก และมีผลให้ได้รับการลงโทษ เช่นปรับตกในงานที่นำส่ง (ระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา) หรือปรับให้ตกในรายวิชานั้นๆ (ระดับอุดมศึกษา) * ในกรณีที่กระทำความผิดซ้ำ หรือกระทำโจรกรรมทางวรรณกรรมขั้นร้ายแรง อาจถูกพักการศึกษาหรือถูกไล่ออก มีหลายมหาวิทยาลัยที่มีบทลงโทษด้วยการถอนหรือเรียกปริญญาคืนหากพบภายหลังจากนักศึกษาประกอบอาชญากรรมทางวิชาการ
ถ้าเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยและนักวิจัย จะเป็นอย่างไร? • มีการลงโทษการโจรกรรมทางวิชาการมีหลายรูปแบบ ตั้งแต่การพักงานไปถึงขั้นไล่ออกหรือเลิกจ้าง • ซึ่งผู้กระทำการดังกล่าวยังต้องเสียชื่อเสียงหมดความเชื่อถือ การกล่าวโทษนักศึกษาหรืออาจารย์มักได้ยินมาจากกรรมการสอบวินัยภายในสถาบันที่เป็นที่ยอมรับของนักศึกษาและอาจารย์
โจรกรรมทางวรรณกรรมผลงานของตนเองโจรกรรมทางวรรณกรรมผลงานของตนเอง • หมายถึง การนำเอางานส่วนใหญ่ หรืองานทั้งหมด หรือเกือบทั้งหมดของตนเองมาทำเป็นงานใหม่โดยไม่ได้แจ้งให้ชัดเจน บทความประเภทนี้ส่วนใหญ่มักเป็นบทความตีพิมพ์ซ้ำ (Multiple Publication) • ผู้เขียนที่ประสงค์ที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นปัญหานี้ เมื่อจะเขียนงานใหม่ ควรอย่างยิ่งที่จะพยายามปฏิบัติตามแนวทางที่ดีที่สุดต่อไปนี้ • แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด อ้างไว้ในบทนำ ว่างานใหม่หรือส่วนของงานใหม่ได้รวมงานเดิมไว้ด้วยอย่างไร • ต้องให้แน่ใจว่าไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด (เช่น งานเดิมของตนอาจเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์ ฯลฯ) • อ้างอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่
ขอบคุณ ที่ให้ความสนใจ ขอให้สำเร็จตามมุ่งหวัง