1.04k likes | 1.23k Views
Office of Quality Assurance Chiang Mai University. “A self-reliant research university committed to academic excellence”. การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา. รศ. ดร. สัมพันธ์ สิงหราชวราพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา.
E N D
Office of Quality Assurance Chiang Mai University “A self-reliant research university committed to academic excellence” การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา รศ. ดร. สัมพันธ์ สิงหราชวราพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Office of Quality Assurance Chiang Mai University คุณภาพ (Quality) คุณลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ / บริการที่ลูกค้าพึงพอใจ (ตรงหรือมากกว่าความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า) Customer Requirements Customer Satisfaction Requirements = Needs + Expectations
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Office of Quality Assurance Chiang Mai University ลูกค้า = ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียCustomers = Stakeholders • Stakeholders: • Government • Students • Employers/Professional Bodies • Research Grant Provider • Community/Society • Alumni • Academic & Support Staff
การประกันคุณภาพการดำเนินงานการประกันคุณภาพการดำเนินงาน • การประกันคุณภาพ: • การควบคุม • การตรวจสอบ • การประเมินคุณภาพ • QUALITY ASSURANCE: • Quality Control • Quality Audit • Quality Assessment
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Office of Quality Assurance Chiang Mai University สภาพแวดล้อมที่กำลังเปลี่ยนแปลง • การศึกษา คืออุตสาหกรรมบริการ(Service Industry)ตามข้อกำหนดของWTO ที่เปิดเสรี ในปี 2545 • ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ICT) • การเกิดสภาพ เศรษฐกิจใหม่ (New Economy) ที่ต้องการ กำลังคนที่มีความรู้และทักษะสูง(Knowledge Workers) • พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 และ พ.ร.ฎ. จัดตั้ง สมศ.2543
จำนวนมหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาจำนวนมหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษา • สกอ. : 75 (รัฐ 24, มรภ.41, เอกชน 51,) • กระทรวงศึกษาฯ: 539(ป. ตรี/ต่ำกว่า, เอกชน 301) • กระทรวงอื่น ๆ: 83 (ป. ตรี/ต่ำกว่า) • รวม 738 แห่ง
Change “The successful organizations are those that are capable of managing change”
Charles Darwin “Survival of the Fittest” “It is not the strongest species that survive, Nor the most intelligent, But the one most responsive to change”
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Quality Assurance Center Chiang Mai University CHANGE Learning Organization “An organization that is continually expanding its capacity to create its future” Peter Senge (1990), The Fifth Discipline: The Art & Practice of the Learning Organization.
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Quality Assurance Center Chiang Mai University หลักปฏิบัติ 5 ประการสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Five Disciplines Towards A Learning Organization) • Personal Mastery • Mental Models • Shared Vision • Team Learning • Systems Thinking
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Quality Assurance Center Chiang Mai University Strategic Thinking STRATEGIC THINKING CAUSE SYSTEMS THINKING Systems Thinking EFFECT
วัตถุประสงค์ในการประกันคุณภาพวัตถุประสงค์ในการประกันคุณภาพ • เพื่อสร้าง ความพึงพอใจ (Satisfaction) และ ความมั่นใจ(Assurance)ให้กับ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง(Stakeholders) • เพื่อ ความอยู่รอด และ การเติบโตอย่างยั่งยืน (Survival and Sustained Growth) ภายใต้สภาวะการแข่งขันที่กำลังทวีความรุนแรงกว่าที่เคยเกิดในอดีต • เพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิต (Quality of Life) ของบุคลากร
ความจำเป็นของการประกันคุณภาพการศึกษาความจำเป็นของการประกันคุณภาพการศึกษา • ความถดถอย-ตกต่ำลง • การขยายมหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษา • การขยายจำนวนนักศึกษา • บัณฑิตไทยคุณภาพ “ด้อยลง” • ข้อกังขา-สงสัย เรื่อง โรงงานผลิตปริญญา หรือการขายปริญญา
มหาวิทยาลัยในอดีต(1) • เป็นหน้าที่ของมหาวิทยาลัย (และอาจารย์) ทั้งหมด: ทุกอย่างเบ็ดเสร็จในตนเอง • “กำหนด” คุณภาพของบัณฑิต และงานวิจัย • “เขียน” หลักสูตร และ “วิธี” วิจัย • “จัด” การเรียนการสอน และ “ทำ” การสอนและวิจัย • “เป็น” ผู้สอบและ “ให้” คะแนน • “ตัดสิน” ผลการสอบ
มหาวิทยาลัยในอดีต(2) • “ให้” ปริญญา หรือ คุณวุฒิ • “ปรับปรุง” หลักสูตรการเรียนการสอนเมื่อ “ต้องการ” • “กำหนด” กิจกรรมที่นักศึกษาอาจทำได้ หรือ “ต้องทำ” • “ไม่ต้องรับผิดชอบ” ถ้านักศึกษาไม่ได้คุณภาพตามความต้องการของผู้ประกอบการ หรือผู้ใช้ • “ไม่ต้องรับผิดชอบ” เมื่อบัณฑิตที่ไม่ได้งาน • “ไม่ต้องสนใจ” เรื่อง “ความคุ้มทุน” และ “ความคุ้มค่า”
ความด้อยคุณภาพของบัณฑิตไทยความด้อยคุณภาพของบัณฑิตไทย • ความสนใจใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง • การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง • การสื่อสาร: การเขียน การฟัง การพูด • ความคิดเชิงวิเคราะห์ และ ความคิดเชิงสร้างสรรค์ • การทำงานเป็นกลุ่ม: ผู้นำ ผู้ตาม • การบริหารเวลา • คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม
ตลาดของงานที่เปลี่ยนแปลงไปตลาดของงานที่เปลี่ยนแปลงไป ธรรมชาติของ “งาน” และ ความยืดหยุ่นและความพร้อมในการ “ทำงาน” การเรียนรู้ตลอดชีวิต
การปฏิรูปการศึกษา: ปัจจัยสู่ความสำเร็จ • โครงสร้างและระบบ: ระดับชาติ ระดับสถาบัน • การจัดการเรียนการสอน • การพัฒนาบุคลากร • กลไกให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่อง
ม. 47 ให้มี ระบบประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย • ระบบประกันคุณภาพภายใน และ ระบบประกันคุณภาพ • ภายนอก • ม. 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบ • ประกันคุณภาพภายใน โดยจัดทำ รายงานประจำปี เสนอ • ต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเปิดเผยต่อสาธารณชน การประกันคุณภาพตาม พรบ.การศึกษาฯ หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ม. 49 ให้มี สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทำการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาอย่างน้อยทุก 5 ปี และ เสนอผลการประเมินต่อสาธารณชน • ม. 46 ให้สถานศึกษาร่วมมือในการเตรียมเอกสารหลักฐานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษา ตามคำร้องขอของ สมศ. หรือ คณะผู้ประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. • ม. 51 ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกไม่ได้ตามมาตรฐาน ให้ สมศ. เสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัดภายในเวลาที่กำหนด
การประเมินคุณภาพภายนอก โดย สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
นายกรัฐมนตรี คณะกรรมการบริหาร สมศ. คณะกรรมการพัฒนา ระบบการประเมินคุณภาพฯ ขั้นพื้นฐาน (กพพ.) คณะกรรมการพัฒนา ระบบการประเมินคุณภาพฯ ระดับอุดมศึกษา (กพอ) ผอ.สมศ. โครงสร้างการบริหาร สมศ.
พัฒนาระบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอก พัฒนาระบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอก • พัฒนามาตรฐานและเกณฑ์สำหรับการประเมิน • คุณภาพภายนอก • กำกับการดำเนินการให้มีการรับรองมาตรฐาน • และประเมินคุณภาพฯของสถานศึกษา • ทั้งนี้ภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริหาร สมศ. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพระดับอุดมศึกษา (กพอ)
ประกันคุณภาพภายใน ประเมินคุณภาพภายนอก • หน่วยงานต้นสังกัด • สกอ. สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ • กระทรวง อื่น ๆ สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) • มหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษา • คณะ สถาบัน สำนัก ศูนย์ / หน่วยงานเทียบเท่า • ภาควิชา / หน่วยงานเทียบเท่า
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Quality Assurance Center Chiang Mai University คณะรัฐมนตรี รมว. ศึกษาธิการ รายงานประจำปี (SAR) สำนักงบประมาณ สาธารณชน
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Quality Assurance Center Chiang Mai University กำหนดนโยบายทางการศึกษา การจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษา รายงานประจำปี (SAR) ข้อมูลแก่สาธารณชน
การปฎิบัติงานของสถานศึกษาการปฎิบัติงานของสถานศึกษา การประเมินตนเองของสถานศึกษา ตรวจเยี่ยม รายงาน การประเมินตนเอง การประกัน คุณภาพภายใน รายงานผลการประเมิน การประเมิน คุณภาพภายนอก รับรองมาตรฐานและติดตาม
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Quality Assurance Center Chiang Mai University หน่วยงานต้นสังกัด สมศ. รายงานผลการประเมิน สาธารณชน สถาบันที่ถูกประเมิน
“A self-reliant research university committed to academic excellence” Quality Assurance Center Chiang Mai University การประกันคุณภาพภายใน ของ สถาบันอุดมศึกษา
การสร้างระบบ • กำหนดนโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ • กำหนดโครงสร้าง คณะกรรมการ บุคลากรที่ • รับผิดชอบ • กำหนดองค์ประกอบคุณภาพ ดัชนีคุณภาพ • กำหนดกระบวนการ/กลไกการทำงาน • กำหนดทรัพยากร การจัดการ
กลไกการควบคุมคุณภาพ • หน่วยงานและ/คณะกรรมการที่รับผิดชอบ • การประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งอาจจะ • จัดตั้งในระดับสถาบันและระดับคณะวิชา/ • หน่วยงานโดยให้มีบทบาทหน้าที่และความ • สัมพันธ์กับองค์กรอื่นภายในสถาบัน
นโยบาย แนวคิด และ องค์ประกอบของระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
นโยบายประกันคุณภาพฯของ สกอ. (1) สกอ. จะพัฒนาให้มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพฯ โดยเน้นให้สถาบันอุดมศึกษามีระบบควบคุมคุณภาพและปรับปรุงการปฏิบัติภารกิจอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐาน Academic Freedom, Institutional autonomy and accountability (2) สกอ. จะส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบและ กลไกการประกันคุณภาพโดยมุ่งเน้นการควบคุม ตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพ (3) สกอ. จะกำหนดรูปแบบและวิธีการในการประกันคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานของสถาบันต่างๆ
นโยบายประกันคุณภาพฯ ของสกอ. (ต่อ) (4) สกอ. จะจัดให้มีกลไกการตรวจสอบและประเมินผล ระบบการประกันคุณภาพของแต่ละสถาบันทั้งในระดับสถาบันและคณะฯ (5) สกอ. จะสนับสนุนส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานอื่นๆ ในกิจกรรมประกันคุณภาพ (6) สกอ. จะส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นผลจากกิจกรรมประกันคุณภาพเพื่อเป็นข้อมูลสาธารณะและสำหรับการสนับสนุนด้านต่างๆ
แนวทางการประกันคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาแนวทางการประกันคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา • การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง • การสนับสนุนจากบุคลากร • กำหนดองค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้และเกณฑ์คุณภาพ • ดำเนินการตามวงจร PDCA
การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง • กำหนดนโยบายประกันคุณภาพ • จัดตั้งคณะกรรมการและจัดระบบบริหารการประกันคุณภาพ • จัดหน่วยงานรองรับเป็นฐานปฏิบัติการงานประกันคุณภาพ • สนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็น
การสนับสนุนจากบุคลากรการสนับสนุนจากบุคลากร • ทำความเข้าใจ • ให้ความร่วมมือ • สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ • ช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
คำนึงถึงองค์ประกอบหลักในการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเป็นตัวตั้งคำนึงถึงองค์ประกอบหลักในการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเป็นตัวตั้ง ระบบคุณภาพในแนวทางของ สกอ. ดังนั้นการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถาบันอุดมศึกษาจึงต้องจัดระบบและกลไกตลอดจนตัวบ่งชี้คุณภาพที่สอดรับกับองค์ประกอบหลักดังกล่าว
SWOT ANALYSIS วางแผนปฎิบัติ ลงมือปฏิบัติ มีส่วนร่วม ทำต่อเนื่อง ตรวจสอบ / ประเมิน ตามดัชนี พัฒนา / ปรับปรุง ระบบข้อมูล วงจร PDCA
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน: องค์ประกอบคุณภาพ (1) ปณิธาน ภารกิจ วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินงาน • การดำเนินการตามภารกิจ 4 ด้าน • (2) การจัดการเรียนการสอน • (3) การพัฒนาและสนับสนุนนักศึกษา • (4) การวิจัย • (5) การบริการวิชาการแก่ชุมชน • (6) การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและ สวล. ผลสัมฤทธิ์ • กระบวนการบริหาร • (7) การบริหารและการจัดการ • (8) การเงินและงบประมาณ • (9) การประกันคุณภาพ
องค์ประกอบที่ 1 : ปรัชญาปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนดำเนินงาน สถาบันอุดมศึกษาพึงกำหนดปรัชญาปณิธานและวัตถุประสงค์ของสถาบันให้สอดคล้องกับภารกิจหลักของสถาบันและมีแผนดำเนินการที่ชัดเจน เพื่อให้บรรลุปรัชญาปณิธานและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
องค์ประกอบที่ 1 : ปรัชญาปณิธานวัตถุประสงค์และแผนดำเนินงาน(ต่อ) ปรัชญาปณิธานและวัตถุประสงค์ • สถาบันอุดมศึกษามีการกำหนดปรัชญา ปณิธานและวัตถุประสงค์ของสถาบันไว้ชัดเจนเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของสถาบัน
องค์ประกอบที่ 1 : ปรัชญาปณิธานวัตถุประสงค์และแผนดำเนินงาน(ต่อ) แผนงาน • สถาบันอุดมศึกษามีการวางแผนการศึกษาให้สอดคล้องกับปรัชญา ปณิธานและวัตถุประสงค์ของสถาบัน มีการดำเนินงานตามแผนเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่กำหนด การประเมินแผนงานและโครงการ • สถาบันอุดมศึกษาพึงประเมินแผนงานและโครงการเป็นระยะๆ มีการปรับปรุงแผนงานและโครงการให้สอดคล้องและทันต่อความเปลี่ยนแปลง
องค์ประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน • สถาบันอุดมศึกษาพึงจัดการเรียนการสอนที่มี คุณภาพและประสิทธิภาพมีความพร้อมเกี่ยวกับหลักสูตรอาจารย์กระบวนการเรียนการสอน นักศึกษาและปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน
องค์ประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน (ต่อ) หลักสูตร • สถาบันอุดมศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรที่เปิดสอน ทุกหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการทางด้านวิชาการและวิชาชีพมีการประเมินหลักสูตรอย่างสม่ำเสมอมีการบริหารหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพและมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลง
องค์ประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน (ต่อ) อาจารย์ • สถาบันอุดมศึกษามีระบบการสรรหาพัฒนาและธำรงรักษาไว้ซึ่งอาจารย์ที่มีคุณวุฒิความรู้ความสามารถประสบการณ์คุณธรรมและจริยธรรม มีการกำหนดภารกิจของอาจารย์ไว้ชัดเจนและมีการประเมินผลการปฏิบัติภารกิจอย่างสม่ำเสมอเพื่อพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน
องค์ประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน (ต่อ) กระบวนการเรียนการสอน • สถาบันอุดมศึกษามีการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพมีการทำแผนการสอนการเตรียมการสอนการทำรายละเอียดชุดวิชาการใช้นวัตกรรมในการสอนการประเมินผลการเรียนและการประเมินการสอนของอาจารย์
องค์ประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน (ต่อ) นักศึกษา • สถาบันอุดมศึกษามีการจัดระบบการคัดเลือก นักศึกษาและระบบติดตามผลการศึกษาของ นักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพมีการประเมินผลคุณภาพของบัณฑิตทั้งที่ศึกษาต่อและที่เข้าทำงาน
องค์ประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน (ต่อ) การวัดและประเมินผล • สถาบันอุดมศึกษามีการวัดและประเมินผลการเรียนอย่างเป็นระบบและได้มาตรฐานตามหลักการวัดและประเมินผล
องค์ประกอบที่ 3 : กิจกรรมการพัฒนานิสิต นักศึกษา • สถาบันอุดมศึกษาพึงกำหนดแผนงานและโครงการในการพัฒนานิสิตนักศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเจริญงอกงามในด้านต่างๆนอกเหนือจากการเรียนรู้ในห้องเรียน