1 / 25

FTA ในวันข้างหน้า : ไหลลื่น ลื่นล้ม หรือล้มลุกคลุกคลาน

FTA ในวันข้างหน้า : ไหลลื่น ลื่นล้ม หรือล้มลุกคลุกคลาน. ภายใต้โครงการสร้างความรู้ความเข้าใจรองรับกระแสโลกาภิวัตน์ และการเปิดเสรีการค้า. ผลของ FTA ต่ออุตสาหกรรมไทย : บทนำสู่บทเรียน. ดร . พิชญ์ นิตย์เสมอ. สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ( สวค .). ณ โรงแรมพูลแมนคิงเพาเวอร์ กรุงเทพ

bernad
Download Presentation

FTA ในวันข้างหน้า : ไหลลื่น ลื่นล้ม หรือล้มลุกคลุกคลาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. FTA ในวันข้างหน้า: ไหลลื่น ลื่นล้ม หรือล้มลุกคลุกคลาน ภายใต้โครงการสร้างความรู้ความเข้าใจรองรับกระแสโลกาภิวัตน์ และการเปิดเสรีการค้า ผลของ FTA ต่ออุตสาหกรรมไทย: บทนำสู่บทเรียน ดร. พิชญ์ นิตย์เสมอ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.) ณ โรงแรมพูลแมนคิงเพาเวอร์ กรุงเทพ 12 พฤศจิกายน 2550

  2. หัวข้อนำเสนอ • กระแสโลกาภิวัตน์: การเปิดเสรีการค้า(FTAs) • บทนำสู่บทเรียน • ภาพรวมความตกลง FTAs • ดัชนีผลกระทบ FTAs • สินค้าที่ได้รับผลกระทบตามค่าดัชนี และการคุ้มครอง • ตรวจสอบสินค้านำเข้าจากคู่ภาคี FTAs • มาตรการรองรับ/ปรับตัว

  3. กระแสโลกาภิวัฒน์ AFTA WTO FTA ไทย- ออสเตรเลีย FTA ไทย - ญี่ปุ่น FTA อาเซียน - จีน ประเทศไทย FTA ไทย - นิวซีแลนด์ FTA ไทย - อินเดีย APEC กลุ่มสินค้า&บริการที่ได้รับผลกระทบ ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ ระยะสั้น ระยะยาว เกษตร อุตสาหกรรม บริการ ? ความสำคัญและความเร่งด่วนของสินค้าที่ได้รับผลกระทบ ดัชนีจัดลำดับผลกระทบถ่วงน้ำหนัก เกณฑ์:บุคคล/นิติบุคคลที่เข้าข่ายได้รับความช่วยเหลือ รูปแบบความช่วยเหลือที่ไม่ขัด WTO และ FTAs กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ และพื้นที่ มาตรการรองรับผลกระทบ กระแสโลกาภิวัตน์: การเปิดเสรีการค้า

  4. FTAs: วันนี้-วันหน้า

  5. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่แท้จริง (RGDP) (ปี 2549)

  6. “The debate is no longer whether FTA is good or bad, but on how best to manage this irreversible process to ensure that the benefits are widely shared and risks kept to the barest minimum.” “ป่วยการณ์ที่จะมาต่อล้อต่อเถียงกันว่า FTA ดีหรือไม่ดี แต่จะมีวิธีการจัดการ กระบวนการที่ไม่มีวันหวนกลับนี้ได้อย่างไร เพื่อเป็นหลักประกันว่า ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการเปิดเสรี มีการจัดสรรปันส่วนได้ทั่วหน้าและในด้านความเสี่ยงนั้นได้มีการจัดการ/ดูแลให้อยู่ในระดับที่ต่ำสุด” บทนำสู่บทเรียน

  7. ภาพรวมความตกลง FTAs

  8. ส่วนที่ 2 ประเมินงานศึกษาวิจัยความตกลงฯ ไทยกับ 6 ประเทศ พร้อมกัน ส่วนที่ 1 ประเมินมาตรการจากภาครัฐและการร้องเรียนของผู้ประกอบการ หลักเกณฑ์ที่ 4: งานวิจัย หลักเกณฑ์ที่ 3: สินค้าอุตสาหกรรมที่มีการร้องเรียนจากผู้ประกอบการ หลักเกณฑ์ที่ 1: สินค้าอุตสาหกรรมที่มีอัตราการคุ้มครองที่แท้จริงสูง (ERP) หลักเกณฑ์ที่ 2: สินค้าอุตสาหกรรมที่มีอัตราภาษีสูง และ/หรือกำหนดโควตานำเข้า Industry-Based Analysis GTAP Model Diamond Model ดัชนีวัดผลกระทบ FTAs

  9. กลุ่มสินค้าที่ได้รับผลกระทบตาม ค่าดัชนีฯ และการคุ้มครอง การคุ้มครองจากรัฐ (ERP)

  10. ตรวจสอบสินค้าในกลุ่ม C บางรายการ (HS)ที่นำเข้าจากคู่ภาคี FTAs เปรียบเทียบกับดัชนีวัดผลกระทบ และ Balassa Index (RCA)

  11. กลุ่ม C1: อุตสาหกรรมแร่ค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.33

  12. กลุ่ม C1: ยาค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.50

  13. กลุ่มC1:ไหมและผลิตภัณฑ์ค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.83

  14. กลุ่ม C1:รองเท้าและชิ้นส่วนค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.67

  15. กลุ่ม C1:เหล็กและผลิตภัณฑ์ ค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.33

  16. กลุ่ม C2:ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ (ปศุสัตว์)ค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -1.00

  17. กลุ่ม C2:นมและผลิตภัณฑ์ค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -1.00

  18. กลุ่ม C2:ผักผลไม้แปรรูปค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -1.00

  19. กลุ่ม C2: หนังและเครื่องหนังค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.50

  20. กลุ่ม C2: ไม้และของทำด้วยไม้ค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.17

  21. กลุ่ม C2: กระดาษและผลิตภัณฑ์ค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.33

  22. กลุ่ม C2: สิ่งทอค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.50

  23. กลุ่ม C2: เครื่องนุ่งห่มค่าดัชนีเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก: -0.50

  24. มาตรการรองรับ/ปรับตัวมาตรการรองรับ/ปรับตัว • นำกลุ่มสินค้าที่ได้รับผลกระทบไปวิเคราะห์ต่อใน TVCGVC • หา/จัดวางตำแหน่งสินค้าดังกล่าวใน TVC/GVC • ขับเคลื่อนสินค้าใน TVC/GVC ไปสู่ higher value added • การกำหนดมาตรการรองรับ/สนับสนุน • การจัดทำคู่มือการบริหารการใช้เงินกองทุนฯสนับสนุนการปรับตัว

  25. ข้อสังเกตส่งท้าย: Divergence vs. Convergence ธรรมมาภิบาลระดับชาติ บรรยากาศทางการเมือง-สังคม • ธุรกิจการเงิน • กฎหมาย (Antitrust/CP, • FB, IP) • บรรษัทธรรมมาภิบาล • องค์กรวิชาชีพ • สถาบันตัวกลาง • การคลัง • การเงิน • การค้า (WTO, FTAs) • ภาษี ศ. ก นโยบายมหภาค สภาพแวดล้อมด้านสถาบัน นโยบายโครงสร้าง & การสนับสนุน • การศึกษา (คสพ. มหา’ลัย-เกษตร/อุตฯ/บริการ) • การยกระดับแรงงาน • ภาษี: incentive/disincentive • S & T (วิศวกร / นักวิทยาศาสตร์) • กฎระเบียบ & สิ่งแวดล้อม

More Related