1.3k likes | 2.67k Views
การวิเคราะห์อภิมาน (meta-analysis) นงลักษณ์ วิรัชชัย ภาควิชาวิจัยฯ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หัวข้อการบรรยาย. 1. แนวคิดการสังเคราะห์งานวิจัยและการวิเคราะห์อภิมาน 2. ขั้นตอนการวิจัย และการกำหนดปัญหาวิจัย 3. การประเมินงานวิจัยเพื่อการวิเคราะห์อภิมาน
E N D
การวิเคราะห์อภิมาน (meta-analysis) นงลักษณ์ วิรัชชัย ภาควิชาวิจัยฯ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หัวข้อการบรรยาย 1. แนวคิดการสังเคราะห์งานวิจัยและการวิเคราะห์อภิมาน 2.ขั้นตอนการวิจัย และการกำหนดปัญหาวิจัย 3. การประเมินงานวิจัยเพื่อการวิเคราะห์อภิมาน 4. ข้อมูล และการสร้างแบบบันทึกข้อมูล 5. ขนาดอิทธิพล (effect size) และสถิติวิเคราะห์ 6. การสังเคราะห์งานวิจัยเชิงปริมาณแบบอื่นๆ 7. การสังเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ
1. แนวคิดการสังเคราะห์งานวิจัย และการวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัย (RESEARCH SYNTHESIS/REVIEW) กระบวนการแสวงหาความรู้/ตอบคำถาม วิจัยด้วยระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์ โดยการ รวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับปัญหานั้น ๆ มา วิเคราะห์และสรุปรวมสาระอย่างมีระบบ
ความจำเป็นในการสังเคราะห์งานวิจัย 1. ธรรมชาติของศาสตร์ ต้องสั่งสมความรู้ (กิจกรรมที่นักวิจัยทุกคนต้องทำ) 2. ปริมาณงานวิจัยเพิ่มมากขึ้น จำเป็นต้อง มีการสรุปผลการวิจัยในภาพรวม 3. ผลการวิจัยขัดแย้งกัน จำเป็นต้องหาข้อ สรุปสุดท้ายที่ชัดเจน 4. วิธีการสังเคราะห์งานวิจัยที่ใช้ไม่มีระบบ
หลักการในการสังเคราะห์งานวิจัยหลักการในการสังเคราะห์งานวิจัย - งานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์ให้ข้อค้นพบ แต่ละมุมมองของปรากฏการณ์ที่ต้องการ - ผลการสังเคราะห์งานวิจัยให้ภาพรวมที่ กว้างขวางลุ่มลึกกว่าการนำผลการวิจัยทุก เรื่องมารวมกัน
หลักการในการสังเคราะห์งานวิจัยหลักการในการสังเคราะห์งานวิจัย • - การสังเคราะห์งานวิจัยใช้ระเบียบวิธีทาง • วิทยาศาสตร์ (scientific method) • การสังเคราะห์งานวิจัยทำได้สองแบบ • 1. เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย • 2. เป็นงานวิจัย
กระบวนการสังเคราะห์งานวิจัยกระบวนการสังเคราะห์งานวิจัย 1. การกำหนดจุดมุ่งหมาย/ปัญหาวิจัย 2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และ การสร้างกรอบความคิด 3.การรวบรวมข้อมูล:ระบุ,สืบค้น,ประเมิน,บันทึก 4. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ 5. การสรุป อภิปรายผล และการเสนอรายงาน
ประเภทของการสังเคราะห์งานวิจัยประเภทของการสังเคราะห์งานวิจัย 1. สังเคราะห์แบบพรรณนา/บรรยาย (narration) 2. สังเคราะห์แบบนับคะแนน (vote-counting) 3. สังเคราะห์แบบสะสมความน่าจะเป็น (cumulation of probability values) 4. สังเคราะห์แบบประมาณค่าขนาดอิทธิพล (estimators of effect sizes) 5. สังเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์อภิมาน (meta- analysis)
การวิเคราะห์อภิมาน การวิเคราะห์อภิมาน (meta-analysis) = การวิจัยเพื่อสังเคราะห์งานวิจัยหลาย ๆ เรื่องที่ศึกษาปัญหาเดียวกัน ให้ได้ข้อสรุปที่กว้างขวางลุ่มลึก โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ/วิธีการทางสถิติ
ประเภทของการวิเคราะห์ประเภทของการวิเคราะห์ • Primary Analysis • Secondary Analysis • Meta-Analysis • Mega-Analysis
ศัพท์ที่ใช้ การสังเคราะห์งานวิจัย (Research Synthesis) บูรณาการงานวิจัย (Research Integration) ปริทัศน์งานวิจัย (Research Review) การวิจัยงานวิจัย (Research of Research) การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis) การสังเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analytic Synthesis)
ประเด็นที่ต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องพิจารณา - งานวิจัยที่ศึกษาปัญหาเดียวกัน - ข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์อภิมาน - หน่วยการวิเคราะห์ - ลักษณะเฉพาะของการวิเคราะห์ อภิมาน
ประเด็นที่ต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องพิจารณา งานวิจัยที่ศึกษาปัญหาเดียวกัน ลักษณะปัญหาวิจัยของงานวิจัยเป็น เรื่องเดียวกัน แต่นิยาม/วัดตัวแปรต่าง กัน มีแบบแผนการวิจัยต่างกัน มีกลุ่ม ตัวอย่างต่างกัน การวิเคราะห์ต่างกัน
1. การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ และ ความคงทนของการเรียน ระหว่างกลุ่มผู้เรียนที่ใช้วิธี สอนต่างกัน 3 แบบ (DV = คะแนนสอบ) 2. อิทธิพลของการอบรมเลี้ยงดู และลักษณะครอบครัว ต่อเชาว์ปัญญา&เชาว์อารมณ์ของเด็กเล็ก (DV = score) 3. ปัจจัยด้านนักเรียน ครู และกลุ่มเพื่อน ที่มีอิทธิพลต่อ ทักษะกระบวนการเชิงวิทย์ฯ (DV = ระดับทักษะ) 4. การพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลความ เชื่อประสิทธิภาพในตน (self efficacy) (DV ในโมเดลมี หลายตัว มีหน่วยวัดต่างกัน)
ผลการวิจัย เรื่องที่ 1 อิทธิพลของวิธีสอนต่อ DV เรื่องที่2 อิทธิพลของการอบรมเลี้ยงดู ต่อ DV อิทธิพลของลักษณะครอบครัวต่อ DV เรื่องที่ 3 อิทธิพลของปัจจัยด้านนักเรียนต่อ DV อิทธิพลของปัจจัยด้านครูต่อ DV อิทธิพลของปัจจัยด้านกลุ่มเพื่อน ต่อ DV เรื่องที่ 4 อิทธิพลของตัวแปรสาเหตุที่ i ต่อ DVi ขนาดอิทธิพลมีหลายแบบ&หน่วยวัดต่างกัน ต้องการหน่วยมาตรฐานวัดขนาดอิทธิพล
ประเด็นที่ต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องพิจารณา 2. ข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์อภิมาน งานวิจัยทั่วไป: Y = f (X, Z, Error) ผลการวิจัย คือ d หรือ r เมื่อ d = Effect size = [ YE - YC ]/SD การวิเคราะห์อภิมาน: d หรือ r = f (X, Y, Z, C, Error)
ประเด็นที่ต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องพิจารณา 2. ข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์อภิมาน 2.1 ตัวแปรเกี่ยวกับการพิมพ์ 2.2 ตัวแปรเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ 2.3 ตัวแปรเกี่ยวกับวิธีการวิจัย 2.4 ผลการวิจัย
ประเด็นที่ต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องพิจารณา 3. หน่วยการวิเคราะห์ หน่วยการวิเคราะห์ (unit of analysis) = หน่วยการวัดขนาดอิทธิพล = งานวิจัยแต่ละเล่ม หรือ ชุดการทด สอบสมมุติฐานแต่ละชุด
ประเด็นที่ต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องพิจารณา 4.ลักษณะเฉพาะของการวิเคราะห์อภิมาน X X Y Z Y งานวิจัยทั่วไป การวิเคราะห์อภิมาน
การวิเคราะห์งานวิจัย ศึกษาความต่างของขนาดอิทธิพล ชื่อเรื่อง ปีที่พิมพ์ นักวิจัย งานวิจัย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ ทฤษฎี/หลัก กรอบแนวคิด วิธีดำเนินการวิจัย ข้อมูล และเครื่องมือวิจัย ผลการวิจัย=ขนาดอิทธิพล
หลักการในการวิเคราะห์อภิมานหลักการในการวิเคราะห์อภิมาน X Y งานวิจัยทั่วไป ผลการวิจัย= อิทธิพลของ X ที่มีต่อ Y = ขนาดอิทธิพล (effect size) = d = standardized mean difference = mean E – mean C = YE - YC standard deviation s.d.
หลักการในการวิเคราะห์อภิมานหลักการในการวิเคราะห์อภิมาน d Z X X Y Z Y งานวิจัยทั่วไป การวิเคราะห์อภิมาน
เปรียบเทียบการวิจัย-การวิเคราะห์อภิมานเปรียบเทียบการวิจัย-การวิเคราะห์อภิมาน • งานวิจัยทั่วไปการวิเคราะห์อภิมาน • Cause & effect 1. Cause & effect • ( X -------> Y)(Z ------> d) • 2. Generalization2. Generalization • (to population) (to universe) • 3. Developing theory3. Developing theory
2.ขั้นตอนการสังเคราะห์งานวิจัย2.ขั้นตอนการสังเคราะห์งานวิจัย
หลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิจัยเชิงปริมาณหลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิจัยเชิงปริมาณ องค์ประกอบในชื่อเรื่อง ตัวแปรตาม,ตัวแปรต้น, วัตถุประสงค์, บริบท ตัวอย่าง อิทธิพลของการอบรมเลี้ยงดู และระดับการศึกษาที่มีต่อแรงจูงใจในการทำงานของเยาวชน ภาคกลาง การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลสำเร็จในการป้องกันโรคติดต่อ ระหว่างกลุ่มหมู่บ้านที่มีขนาด และระดับการศึกษาของคนในหมู่บ้าน แตกต่างกัน 3 กลุ่ม
หลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิเคราะห์อภิมานหลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิเคราะห์อภิมาน องค์ประกอบในชื่อเรื่อง ตัวแปรตาม,ตัวแปรต้น,วัตถุประสงค์, บริบท ตัวอย่าง: นักวิจัยต้องการสังเคราะห์งานวิจัย เกี่ยวกับความแตกต่างของจิตลักษณะของนักเรียนที่มีเพศต่างกัน (ผลการวิจัย = ขนาดอิทธิพลของเพศต่อจิตลักษณะ) ปัจจัยด้านลักษณะงานวิจัยที่มีผลต่ออิทธิพลของเพศต่อจิตลักษณะของนักเรียน:การวิเคราะห์อภิมาน
กระบวนการสังเคราะห์งานวิจัยกระบวนการสังเคราะห์งานวิจัย 1. การกำหนดจุดมุ่งหมาย/ปัญหาวิจัย 2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และ การสร้างกรอบความคิด 3.การรวบรวมข้อมูล:ระบุ,สืบค้น,ประเมิน,บันทึก 4. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ 5. การสรุป อภิปรายผล และการเสนอรายงาน
กระบวนการวิเคราะห์อภิมานกระบวนการวิเคราะห์อภิมาน 1. การกำหนดปัญหา วัตถุประสงค์ 2. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง,โมเดลการวิจัย 3. การรวบรวมข้อมูล-ระบุ,สืบค้น,ประเมิน,บันทึก 4. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ 5. การสรุปและอภิปรายผล การเสนอรายงาน
3.การประเมินงานวิจัยเพื่อ3.การประเมินงานวิจัยเพื่อ การวิเคราะห์อภิมาน
ประเด็นการประเมินงานวิจัย ของ วช. • ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ • ตามแผนฯ 10 (10 คะแนน) • 2. คุณค่าทางปัญญาของงานวิจัย (60 คะแนน) • 2.1 ปัจจัยการวิจัย (20 คะแนน) • 2.2 กระบวนการวิจัย (20 คะแนน) • 2.3 ผลผลิตการวิจัย (20 คะแนน) • 3. ผลกระทบของงานวิจัย (30 คะแนน)
การประเมินงานวิจัยในการสังเคราะห์งานวิจัยการประเมินงานวิจัยในการสังเคราะห์งานวิจัย การรวบรวมงานวิจัยที่จะสังเคราะห์ การกำหนดประเด็นประเมินงานวิจัย การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบประเมินงานวิจัย การประเมินงานวิจัย การนำผลการประเมินงานวิจัยไปใช้
แบบประเมินงานวิจัย • - แบบประเมินอัตนัย • - แบบประเมินสองตัวเลือก (ใช่/ไม่ใช่) • แบบประเมินชนิดมาตรประเมินค่า (RATING • SCALE) 5 ระดับ • แบบประเมินชนิดมาตรหลายตัวเลือก และ • สร้างตัวเลือกโดยกำหนดค่าคะแนนตัวเลือก • แบบ RUBRICSSCORING
หลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิเคราะห์อภิมานหลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิเคราะห์อภิมาน ตัวอย่าง: นักวิจัยต้องการสังเคราะห์งานวิจัย เชิงทดลองเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยผลการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนต่างกัน ปัจจัยด้านลักษณะงานวิจัยและศักยภาพนักวิจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของวิธีสอนของนักเรียน: การวิเคราะห์อภิมาน การวิเคราะห์อภิมานเรื่องประสิทธิผลของวิธีสอนสำหรับนักเรียน
ตัวอย่างแบบประเมินงานวิจัยตัวอย่างแบบประเมินงานวิจัย • ชื่อเรื่องวิจัยสมบูรณ์ตามหลักวิจัย • ก. ระบุตัวแปรตาม • ข. ระบุตัวแปรตามและตัวแปรต้น • ค. ข้อ ข. และระบุวัตถุประสงค์หลักของการวิจัย • ง. ข้อ ค. และระบุบริบท (CONTEXT) • จ. ข้อ ง. และตรงสาขาวิชา
ตัวอย่างแบบประเมินงานวิจัยตัวอย่างแบบประเมินงานวิจัย 2. ปัญหา/วัตถุประสงค์วิจัย เหมาะสม ก. ปัญหา/วัตถุประสงค์วิจัยชัดเจน ข. ข้อ ก. และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ค. ข้อ ข. และสอดคล้องกับชื่อเรื่อง ง. ข้อ ค. และสามารถทำวิจัยได้ จ. ข้อ ง. และแสดงถึงนวัตกรรม
4. การสร้างแบบบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์อภิมาน
ข้อมูลในการสังเคราะห์งานวิจัยข้อมูลในการสังเคราะห์งานวิจัย ข้อมูล:สาระจากงานวิจัยตามประเด็นปัญหาวิจัย ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง: งานวิจัย ขนาดกลุ่มตัวอย่าง: • ศึกษาจากประชากร • เลือกกลุ่มตัวอย่าง (เจาะจง, สุ่ม) • เครื่องมือวิจัย: • แบบบันทึกข้อมูลจากงานวิจัย • แบบประเมินงานวิจัย
ข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์อภิมานข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์อภิมาน 1. ตัวแปรเกี่ยวกับการพิมพ์ 2. ตัวแปรเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ 3. ตัวแปรเกี่ยวกับวิธีการวิจัย 2.4 ผลการวิจัย
ไฟล์ข้อมูล 1. ไฟล์ข้อมูลจากงานวิจัย (หน่วย=เล่ม) 2. ไฟล์ข้อมูลจากผลการวิเคราะห์ (หน่วย = หน่วยการวัดขนาดอิทธิพล) • การจัดกระทำข้อมูล • Data aggregation • Merge files
5. ขนาดอิทธิพล(effect size) และสถิติวิเคราะห์
ขนาดอิทธิพล (Effect Size) ค่าสถิติบอกความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ในหน่วยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน YE - YC Effect Size = d = SD
การศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ การวิจัยเชิงทดลอง CONTROL BY DESIGN การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ CONTROL BY STATISTICS
การวิเคราะห์ในงานวิจัยสหสัมพันธ์การวิเคราะห์ในงานวิจัยสหสัมพันธ์ ผลการวิจัย r1 = ความสัมพันธ์ (X1,Y) r2 = ความสัมพันธ์ (X2,Y) X1 Y X2 การวิเคราะห์ในงานวิจัยเชิงทดลอง YE E: X ผลการวิจัย d = ขนาดอิทธิพลของ X ต่อ Y R C: YC
การประมาณค่าขนาดอิทธิพลการประมาณค่าขนาดอิทธิพล
การประมาณค่าขนาดอิทธิพลจากค่าสถิติการประมาณค่าขนาดอิทธิพลจากค่าสถิติ
X1 Y X2 C1 d, r C2 การวิเคราะห์ในงานวิจัยสหสัมพันธ์และงานวิจัยเชิงทดลอง ผลการวิจัย d = อิทธิพลจาก X ต่อ Y r = ความสัมพันธ์ (X,Y) การวิเคราะห์ในการสังเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์อภิมาน ผลการวิจัย - d, r เฉลี่ยจากงานวิจัยทุกเรื่อง - d, r ต่างกันเนื่องจาก C ตัวใด