290 likes | 415 Views
ประสบการณ์การศึกษาและดำเนินงานเพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย : โครงการพัฒนาและประเมินมาตรการเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย. ธี ระ ศิ ริสมุด, teera.s@hitap.net , 086-0907925 โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ ( HITAP ), www.hitap.net 16 กันยายน 2556. ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้.
E N D
ประสบการณ์การศึกษาและดำเนินงานเพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย: โครงการพัฒนาและประเมินมาตรการเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย ธีระ ศิริสมุด, teera.s@hitap.net, 086-0907925 โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP), www.hitap.net 16 กันยายน 2556
ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ • ปัญหาสุขภาพจิตเป็นเรื่องซับซ้อน/การตรวจด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ทำได้ยาก • การพึ่งพาบุคลากรทางการแพทย์ให้ทำหน้าที่ในการเฝ้าระวังกับทุกคนเป็นไปได้ยากที่ครอบคลุมและดี • อสม. ไม่มั่นใจ และไม่ได้ใช้เครื่องมือในการเฝ้าระวัง ดูแล และส่งต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิตไปยังสถานพยาบาล • ผู้นำในชุมชนมิได้ตระหนักว่าปัญหาการทำร้ายตนเองของคนในพื้นที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยด่วน • บริการโทรศัพท์สายด่วนสุขภาพจิตเป็นช่องทางหนึ่งที่ควรให้ความสำคัญ แต่ข้อจำกัดปัจจุบัน คือให้บริการยังไม่เป็นระบบ และบางครั้งไม่ใช้ภาษาถิ่น
ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ • คนรอบข้าง (ครอบครัว อสม. แกนนำ) เหมาะสมที่สุดที่ควรเป็นผู้เฝ้าระวัง วินิจฉัยเบื้องต้นและส่งต่อ • ผู้พยายามและฆ่าตัวตายสำเร็จส่วนใหญ่มีสัญญาณเตือน (warning sign) แต่คนรอบข้างไม่รู้ ไม่ตระหนัก • หญิง ชาย เด็ก วัยรุ่น คนโตและคนแก่ที่อยู่ในบริบทแวดล้อมต่างๆ อยู่ในสภาวะสุขภาพที่ต่างกัน จะมีวิธีหาทางออกหรือจัดการปัญหาและความเครียดที่ความแตกต่างกัน
ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ • มาตรการป้องกันการฆ่าตัวตายมีความเฉพาะ มีความละเอียดอ่อนในการพัฒนา และการมีส่วนร่วมของพื้นที่ • มาตรการที่พัฒนาแล้วอาจไม่สามารถนำไปใช้ในพื้นที่อื่นได้ ต้องมีการปรับเนื้อหาและช่องทางการสื่อสารให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่
ข้อความเหล่านี้ คือ....ข้อค้นพบจากการศึกษา โครงการพัฒนาและประเมินมาตรการเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย ระยะที่ 1
ระยะที่ 1 วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัญหา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทำร้ายตนเอง และสัญญาณก่อนการทำร้ายตนเอง • เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันการทำร้ายตนเองในระดับชุมชนดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน และข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนามาตรการฯ พื้นที่ศึกษา: ตำบลนครเจดีย์ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน 2 หมู่บ้าน ได้แก่ • หมู่บ้านหนองสมณะ • หมู่บ้านหนองสมณะใต้
กรอบการศึกษา - มุมมองต่อการฆ่าตัวตาย - การเข้าถึงการบริโภคสุรา • - ความเชื่อเกี่ยวกับชาติหน้า • ค่านิยมชู้สาว - การไม่ได้รับการยอมรับในชุมชน - การนินทา พูดเหยียดหยาม - การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ • - การมีหนี้สินในครัวเรือน • - การมีปัญหาชู้สาว ที่มา: กรอบการศึกษาลำดับเหตุการณ์การเกิดพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (มาโนช หล่อตระกูลม,2543) และกรอบการศึกษาค่านิยมและวัฒนธรรมทางสังคมที่ป้องกันการฆ่าตัวตายในภาคเหนือ (อภิชัย มงคล, 2551)
บทบาทของอสม. และแกนนำชุมชน • อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) • ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และบทบาทในการเฝ้าระวังและจัดการกับปัญหาความเครียดและการทำร้ายตนเอง • ยังขาดแนวทางในการคัดกรองในชุมชนที่เป็นระบบ • คนในชุมชนไม่มีความเชื่อมั่นที่จะขอคำปรึกษาและความช่วยเหลือ • แกนนำชุมชน • ยังไม่มีบทบาทชัดเจนในการเฝ้าระวัง (ไม่ได้ตระหนักว่าปัญหาการทำร้ายตนเองของคนในพื้นที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยด่วน)
มุมมองของชุมชน • ห้องสุขภาพจิตถูกมองเป็นห้องสำหรับ “ผีบ้า” • คนในชุมชนมองปัญหาการทำร้ายตนเองว่าเกี่ยวข้องกับปัญหาทะเลาะเบาะแว้งกับบุคคลใกล้ชิด ปัญหาชู้สาว ปัญหาเศรษฐกิจ การมีหนี้สิน รายได้ไม่มั่นคง และไม่เชื่อมโยงการทำร้ายตนเองกับโรคทางจิตเวช: “ ผีบ้าไม่ฆ่าตัวตาย” >> ไม่คิดว่าผู้ที่มีปัญหาข้างต้นควรเข้าสู่ระบบการให้คำปรึกษาและรักษาไม่ให้ความสำคัญกับการเฝ้าระวังและป้องกันการทำร้ายตนเองในชุมชน • ผู้นำในชุมชนมิได้ตระหนักว่าปัญหาการทำร้ายตนเองของคนในพื้นที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยด่วน >> ไม่ให้ความสำคัญกับการเฝ้าระวังและป้องกันการทำร้ายตนเองในชุมชน
บทบาทของคนใกล้ชิดและชุมชนบทบาทของคนใกล้ชิดและชุมชน • บทบาทสำคัญจึงอยู่ที่คนใกล้ชิด และชุมชน (เหตุการณ์ฆ่าตัวตายมักเกิดที่บ้านและในชุมชน) • หน่วยบริการปฐมภูมิ • โรงพยาบาลและผู้เชี่ยวชาญ เป็นฝ่ายสนับสนุนองค์ความรู้และให้การรักษา
ระยะที่ 2 และ 3 วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนามาตรการการป้องกันการฆ่าตัวตายอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน • เพื่อประเมินมาตรการการป้องกันการฆ่าตัวตายที่ดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วม และวางอยู่บนหลักฐานเชิงประจักษ์
พื้นที่ศึกษา 10 อำเภอในเชียงใหม่ 8 อำเภอในลำพูน • จำนวนประชากรในพื้นที่ศึกษา • จังหวัดเชียงใหม่ 554,736 คน • จังหวัดลำพูน 245,405 คน
กรอบการดำเนินงานและการวิจัยประเมินผลกรอบการดำเนินงานและการวิจัยประเมินผล มาตรการป้องกันปัญหา การฆ่าตัวตาย ประชาชนในพื้นที่
แนวทางการพัฒนามาตรการแนวทางการพัฒนามาตรการ
การพัฒนามาตรการในโครงการวิจัยการพัฒนามาตรการในโครงการวิจัย • พัฒนาระบบบริการ • คู่มือในการจัดการปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ระดับปฐมภูมิ และสำหรับผู้นำชุมชนและ อสม. • ระบบการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์สายด่วน (hotline) ให้เป็นที่รู้จักของประชาชนและเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ • พัฒนามาตรการสื่อสาร ที่เหมาะสมกับบริบทอย่างมียุทธศาสตร์ เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติของคนในชุมชนต่อปัญหาสุขภาพจิต ทราบสัญญาณเตือนก่อนการฆ่าตัวตาย รู้จักบริการปรึกษาทางโทรศัพท์ และการจัดการความเครียด
วิธีการพัฒนามาตรการ • มาตรการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ: คู่มือฯ • ดำเนินการร่วมกับกรมสุขภาพจิตในการทบทวนและจัดเตรียมเนื้อหาที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับการป้องกันการฆ่าตัวตาย • รับฟังความคิดเห็นเบื้องต้นจากพยาบาลจิตเวช • จัดสนทนากลุ่มทั้งกลุ่มเจ้าหน้าที่ฯ และ อสม.กับแกนนำชุมชนเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคู่มือ เพื่อความเหมาะสมในการใช้งาน • มาตรการสื่อสาร • จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายในจังหวัดเพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเนื้อหาและรูปแบบของมาตรการ • จัดประชุมเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะจากพยาบาลจิตเวช
คู่มือการดูแลทางจิตเวชสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ (โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สถานีอนามัย สถานบริการสาธารณสุข) • การซักประวัติ การประเมินและสังเกต • กลุ่มเสี่ยงปัญหาสุขภาพจิต • ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช • การดูแลภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช • การคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต • การแจ้งผลการคัดกรองหรือการประเมินปัญหาสุขภาพจิต • การช่วยเหลือดูแลสังคมจิตใจเบื้องต้น การส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต • การให้คำปรึกษา (Counseling) • การดูแลผู้มีปัญหาทางจิตเวชอย่างต่อเนื่อง • การติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์ การเยี่ยมบ้าน • ภาคผนวก แบบคัดกรองปัญหาโรคซึมเศร้าและ การฆ่าตัวตาย แบบคัดกรองโรคจิตแบบคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา
คู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม. และแกนนำชุมชน • ความสำคัญของปัญหาการฆ่าตัวตาย • สาเหตุของปัญหาการฆ่าตัวตาย • แนวทางการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตาย • ประเมินกลุ่มเสี่ยง การรับรู้ สังเกตและทราบถึงสัญญาณเตือนก่อนการฆ่าตัวตาย • การช่วยเหลือผู้มีความเสี่ยงต่อการตัดสินใจฆ่าตัวตาย • การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและการเสริมความเข้มแข็งด้านจิตใจกับครอบครัวและชุมชน • แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพจิตและการฆ่าตัวตาย
มาตรการสื่อ สื่อสปอตวิทยุ ป้ายประชาสัมพันธ์ สื่อบุคคล
ตัวอย่างมาตรการสื่อ: สปอตวิทยุ
ผลการสำรวจข้อมูลก่อนดำเนินโครงการผลการสำรวจข้อมูลก่อนดำเนินโครงการ • ประชาชนทั่วไป • แกนนำ/อสม.
รู้จักสายด่วน 1323 50%ของทั้งสองกลุ่มเข้าใจผิดว่าสายด่วนสุขภาพจิตให้คำปรึกษาเฉพาะโรคทางกาย และเปิดให้คำปรึกษาตามเวลาราชการ 26%ของประชาชนทั่วไป และ 15%ของ อสม./แกนนำ เข้าใจผิด ว่าจะต้องเสียค่าโทรศัพท์เพื่อรับการปรึกษาด้วย
ความรู้ที่เกี่ยวกับปัญหาการฆ่าตัวตายความรู้ที่เกี่ยวกับปัญหาการฆ่าตัวตาย
ทัศนคติและความเชื่อเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายทัศนคติและความเชื่อเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย
การนำความรู้ไปปฏิบัติการนำความรู้ไปปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะการดำเนินงานป้องกันการฆ่าตัวตายในพื้นที่ข้อเสนอแนะการดำเนินงานป้องกันการฆ่าตัวตายในพื้นที่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้ง รพช. รพ.สต. ควร