430 likes | 912 Views
วิชา ส 40208 การปกครองของไทย. หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง. โดย นายทักษิณ ล้านโรจน์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ฯ โรงเรียนแม่ทาวิทยาคม. ความหมายของการเมืองการปกครอง. ความหมายของการเมือง. การเมืองเป็นเรื่องของการแสวงหาความยุติธรรม
E N D
วิชา ส 40208 การปกครองของไทย หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง โดย นายทักษิณ ล้านโรจน์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ฯ โรงเรียนแม่ทาวิทยาคม
ความหมายของการเมืองการปกครองความหมายของการเมืองการปกครอง
ความหมายของการเมือง • การเมืองเป็นเรื่องของการแสวงหาความยุติธรรม ในการดำรงชีวิตที่ดี (พลาโตและอริสโตเติล) • การเมืองเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ทางอำนาจที่ศึกษาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและควบคุมผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาและควบคุมผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาตามลำดับ(กระมล ทองธรรมชาติ)
ความหมายของการเมือง • การเมืองคือ การที่มนุษย์ตอบโต้กัน อันเกี่ยวข้องกับอำนาจและการแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าสำหรับสังคมเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของประชาชน(DavidEaston) • การเมืองเป็นเรื่องของใคร ได้อะไร ให้ผลประโยชน์เมื่อไรและได้ประโยชน์อย่างไร(H.Lasswell)
การปกครองคืออะไร • ให้นักเรียนให้ความหมายของการปกครอง....
การเมืองเกี่ยวข้องกับการปกครองอย่างไรการเมืองเกี่ยวข้องกับการปกครองอย่างไร • การจะบริหารหรือปกครองบ้านเมืองให้สงบสุขและพัฒนาได้นั้นจำเป็นต้องอาศัยอำนาจ (คือการเมือง ) จึงจะดำเนินการได้สำเร็จ)
การปกครองโดยคน ๆ เดียว ( เผด็จการ ) • ถ้าปกครองเพื่อประชาชน เรียกว่า “ ราชาธิปไตย” • ถ้าปกครองเพื่อตัวเอง เรียกว่า “ ทุชนาธิปไตย หรือ ทรราช”
การปกครองโดยคณะบุคคล • ถ้าปกครองเพื่อประชาชน เรียกว่า “ อภิชนาธิปไตย” • ถ้าปกครองเพื่อตัวเอง เรียกว่า “ คณาธิปไตย”
การปกครองโดยคนทั้งหมดหรือเสียงส่วนใหญ่การปกครองโดยคนทั้งหมดหรือเสียงส่วนใหญ่ • ถ้าปกครองเพื่อประชาชน เรียกว่า “ ประชาธิปไตย”
ลักษณะการใช้อำนาจในการปกครองลักษณะการใช้อำนาจในการปกครอง • อำนาจเบ็ดเสร็จหรือควบคุมถ้วนทั่ว ผู้ปกครองหรือรัฐบาลจะควบคุมเสรีภาพของประชาชนทุกด้าน • อำนาจนิยม ผู้ปกครองหรือรัฐบาลจะควบคุมเสรีภาพของประชาชนทางด้านการเมืองเพียงอย่างเดียว และให้เสรีภาพด้านสังคม เศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ • อิสระนิยมหรือเสรีนิยม ผู้ปกครองหรือรัฐบาลจะปล่อยให้ประชาชนมีเสรีภาพกว้างขวางในทุกด้าน ใช้อำนาจการปกครองน้อยที่สุด
ลัทธิหรืออุดมการณ์ในการปกครองลัทธิหรืออุดมการณ์ในการปกครอง
ความหมาย • ลัทธิหรืออุดมการณ์เป็นความเชื่อหรือจุดมุ่งหมายในการปกครอง
ลัทธิหรืออุดมการณ์ทางการเมืองมีอะไรบ้างลัทธิหรืออุดมการณ์ทางการเมืองมีอะไรบ้าง • เสรีนิยม • สังคมนิยม • ฟาสซิสม์ • คอมมิวนิสต์
รูปแบบของรัฐมี 2 รูปแบบดังนี้คือ • รัฐเดี่ยว • รัฐรวม
ลักษณะของรัฐเดี่ยว • มีการรวมอำนาจไว้ที่รัฐบาลกลาง • รัฐที่มีรัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียว • เป็นผู้ใช้อำนาจสูงสุดในการปกครอง • ประเทศ • เช่น สิงค์โปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฝรั่งเศส
ลักษณะของรัฐรวม • รัฐที่มีการปกครองโดยกระจายการปกครองเป็น 2 • ระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาลมลรัฐ กลาง • มีการกระจายอำนาจออกสู่ท้องถิ่นแต่รัฐบาล • กลางก็ยังคงมีอำนาจ • อเมริกา เยอรมัน มาเลเซีย
????ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองแบบใด???????ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองแบบใด??? • รัฐเดี่ยว • รัฐรวม
หลักการประชาธิปไตย • หลักเรื่องของสิทธิเสรีภาพ • หลักเรื่องความเสมอภาค
สิทธิเสรีภาพในระบอบประชาธิปไตยสิทธิเสรีภาพในระบอบประชาธิปไตย • เสรีภาพในการพูด การพิมพ์ และการโฆษณา • เสรีภาพในการนับถือศาสนา • เสรีภาพในการสมาคมหรือรวมกลุ่ม • สิทธิในทรัพย์สิน • สิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย • สิทธิส่วนบุคคล เช่น สิทธิในการประกอบอาชีพ การ • สมรส การหย่าร้าง
ความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตย • ความเสมอภาคทางการเมือง • ความเสมอภาคต่อการปฏิบัติของกฎหมาย • เสมอภาคในโอกาส ทุกคนมีโอกาสใช้ความสามารถโดยเท่าเทียมกัน เช่นการมีมหาวิทยาลัยเปิด • ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ • ความเสมอภาคทางสังคม ทุกคนต้องไดรับการเคารพในความเป็นคนว่ามีศักดิ์ศรีเท่าเทียมกัน
ลักษณะของรัฐบาลประชาธิปไตยลักษณะของรัฐบาลประชาธิปไตย • รัฐบาลของประชาชน หมายถึง รัฐบาลต้องมาจากการเลือกตั้งของประชาชน ,ประชาชนเปลี่ยนแปลงผู้ปกครองได้ • รัฐบาลโดยประชาชน หมายถึง ประชาชนทุกคนมีสิทธิเป็นผู้ปกครองหากได้รับเสียงสนับสนุน • รัฐบาลเพื่อประชาชน หมายถึง มีวัตถุประสงค์เพื่อความผาสุกของประชาชนและมีวาระในการดำรงตำแหน่ง
การเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย - ประเทศที่มีการเลือกตั้งไม่จำเป็นต้องเป็นประชาธิปไตย - แต่ประเทศที่เป็นประชาธิปไตยต้องมีการเลือกตั้ง • รัฐบาลได้รับการยอมรับจากเสียงข้างมาก • การออกกฎหมายหรือการกำหนดนโยบายต้องเป็นไปตาม เสียงข้างมาก • ต้องมีการเคารพสิทธิขั้นพื้นฐานของเสียงข้างน้อย
ค่านิยมและทัศนะคติที่เป็นอุปสรรคต่อประชาธิปไตยค่านิยมและทัศนะคติที่เป็นอุปสรรคต่อประชาธิปไตย • ยึดถือบุคคลมากกว่าหลักการ • เชื่อถือในสิ่งที่พิสูจน์ไม่ได้ • ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยมักจะยึดถือขนบประเพณีเก่า ๆ เป็นหลักในการดำเนินชีวิต • นิยมความมั่งคั่ง, การใช้อารมณ์ความรู้สึกตัดสิน