380 likes | 641 Views
ASEAN Leaders’ Declaration on Drug - Free ASEAN 2015 : ปฏิญญาของผู้นำอาเซียน เพื่อให้อาเซียนปลอดยาเสพติดในปี ๒๕๕๘ ๑ พฤษภาคม๒๕๕๕ โดย นายจเร ผกผ่า ผู้อำนวยการส่วน ยุทธ ศาสตร์และอำนวยการ สำนักการต่างประเทศ. หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมาของ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015
E N D
ASEAN Leaders’ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015 :ปฏิญญาของผู้นำอาเซียนเพื่อให้อาเซียนปลอดยาเสพติดในปี ๒๕๕๘๑ พฤษภาคม๒๕๕๕โดยนายจเร ผกผ่าผู้อำนวยการส่วนยุทธศาสตร์และอำนวยการสำนักการต่างประเทศ
หัวข้อการนำเสนอ • ความเป็นมาของ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015 • แผนปฏิบัติการอาเซียน ASOD Workplan • การประเมินผลการดำเนินการครึ่งแผน • กรอบความร่วมมือด้านเสพติดในภูมิภาคอาเซียน • ตัวอย่างแนวทางการดำเนินการของไทยตามแผนปฏิบัติการอาเซียน
เนื้อหาในกฎบัตรอาเซียนมีอยู่ ๑๓ บท • กฎบัตรอาเซียนทำหน้าที่เป็นธรรมนูญของอาเซียน วางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร ทำให้อาเซียนเป็นองค์การที่มีกฎเกณฑ์การทำงาน เพื่อไปสู่ประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ. ๒๐๑๕(พ.ศ. ๒๕๕๘) กฎบัตรอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน 12. อาเซียนจะเสริมสร้างความร่วมมือในการสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย มั่นคง และปลอดยาเสพติดสำหรับประชาชนของอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กำหนดกรอบกว้าง ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน APSC Blueprint AEC Blueprint ASCC Blueprint แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity)
Joint Declaration on Drug-Free ASEAN 2015 • การประชุมรัฐมนตรีอาเซียน ครั้งที่ ๓๑ เดือนกรกฎาคม ๒๕๔๑ • ปฏิญญาร่วมสำหรับการเป็นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนภายในปี ๒๕๖๓ • การประชุมรัฐมนตรีอาเซียน ครั้งที่ ๓๓ เดือนกรกฎาคม ๒๕๔๓ • ร่นระยะเวลาการเป็นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนเป็นภายในปี ๒๕๕๘
ประชาคมอาเซียน สังคมและ วัฒนธรรม การเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ B6 อาเซียนปลอดยาปี 2558 B4.1 เร่งรัดความร่วมมือต่อต้านการอาชญากรรมข้ามชาติ ลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติด ลดการผลิต การลำเลียง อาชญากรรม ลดแพร่ระบาด พัฒนาศักยภาพ การปราบปรามยาเสพติด ควบคุมเคมีภัณฑ์ เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD) เจ้าหน้าที่อาวุโส/รัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ (SOM TC)
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กำหนดกรอบกว้าง ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน APSC Blueprint AEC Blueprint ASCC Blueprint SOMTC Workplan ASOD Workplan แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity)
ความร่วมมือด้านยาเสพติดภายใต้แผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงความร่วมมือด้านยาเสพติดภายใต้แผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคง • ดำเนินการให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 โดยการเสริมสร้างมาตรการป้องกันการผลิตยาเสพติด การนำเข้า ส่งออกเคมีภัณฑ์และสารตั้งต้น มาตรการควบคุมการส่งผ่านยาเสพติดระดับภูมิภาค การขยายความร่วมมือข้ามพรมแดน โดยการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และการพัฒนาศักยภาพ • เสริมสร้างศักยภาพด้านกระบวนการยุติธรรม รวมถึงศาล อัยการและเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอเพิ่มเติมจากที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดในแผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนข้อเสนอเพิ่มเติมจากที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดในแผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน • พัฒนาการบริหารจัดการด้านกฎหมายในระดับทวิภาคีและพหุภาคีเพื่อการต่อสู้กับการลักลอบค้ายาเสพติดและเคมีภัณฑ์และสารตั้งต้น • ให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกอาเซียนในด้านการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการตรวจพิสูจน์เคมีภัณฑ์ วิเคราะห์คุณลักษณะเพื่องานปฏิบัติการและการข่าวกรอง • ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเครือข่ายยาเสพติดและเฝ้าระวัง (Watch-list) กิจกรรมด้านยาเสพติดของเครือข่ายเหล่านั้น • ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวิธีการที่ดีที่สุดในการทำลายเคมีภัณฑ์และสารตั้งต้นที่ยึดได้
แผนงานจัดตั้งประชาคมด้านสังคมและวัฒนธรรมแผนงานจัดตั้งประชาคมด้านสังคมและวัฒนธรรม เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านยาเสพติดอาเซียน (ASEAN Senior Officials on Drug Matters- ASOD) แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การดำเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิดกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ พร้อมทั้งลดผลต่อเนื่องต่างๆ ในเชิงลบอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม ในที่นี้รวมถึงการลดลงอย่างยั่งยืน และมีนัยสำคัญ การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องพื้นที่ปลูกพืชเสพติด การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด
เกณฑ์วัดผลด้านพื้นที่ปลูกพืชเสพติดเกณฑ์วัดผลด้านพื้นที่ปลูกพืชเสพติด พื้นที่ปลูกฝิ่นภายในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ ไม่มีนัยสำคัญ พื้นที่ปลูกพืชกัญชาภายในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ ไม่มีนัยสำคัญ จัดให้มีหนทางการดำรงชีพอย่างยั่งยืนสำหรับกลุ่มผู้ที่เคยปลูกพืชเสพติดมาก่อน
เกณฑ์วัดผลด้านการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบลำเลียงยาเสพติด การขจัดการลักลอบและการนำสารตั้งต้นไปใช้ในทางที่ผิด ส่งเสริมความร่วมมือข้ามพรมแดนและการปฏิบัติการด้าน การปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ
เกณฑ์วัดผลด้านการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติดเกณฑ์วัดผลด้านการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด ลดการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติดในประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียน กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเฉพาะ อาทิ กลุ่มเด็กเร่ร่อน กลุ่มขายบริการทางเพศและลูกจ้างในโรงงาน เพิ่มช่องทางในการเข้ารับบริการด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเพื่อสร้างความมั่นใจในการรองรับการกลับสู่สังคม สนับสนุนและส่งเสริมภาคีต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาสังคมให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาการใช้ยาเสพติด
การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) • สถานการณ์ยาเสพติดในภูมิภาค มีดังนี้ • การใช้ ATS มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาก • การปลูกพืชเสพติดมีแนวโน้มลดลง • นักค้ายาเสพติดชาติอื่นๆ ให้วิธีซ่อนยาเสพติดที่หลากหลาย • การผลิตยาเสพติดเปลี่ยนจากโรงงานขนาดใหญ่เป็น kitchen lap ซึ่งตรวจพบได้ยาก
การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) 2. ต้องมีการปรับปรุงอย่างมากเพื่อให้บรรลุแผนปฏิบัติการที่ตกลงไว้ • คะแนนรวมด้านการลดอุปสงค์อยู่ที่ร้อยละ 80 ซึ่งดีกว่าด้านการลดอุปทานซึ่งอยู่ประมาณร้อยละ 75 • ในด้านการลดอุปทาน ความร่วมมือข้ามชายแดนมีคะแนนร้อยละ 48 ซึ่งต่ำกว่าด้านอื่นๆ (การควบคุมเคมีภัณฑ์ และการกำจัดยาเสพติดสังเคราะห์) ซึ่งอยู่ที่ประมาณร้อยละ 73 การปลูกพืชเสพติดมีแนวโน้มลดลง • การพยายามลดการปลูกพืชเสพติดอยู่ที่ร้อยละ 60 ขณะที่การพัฒนาทางเลือกอยู่ที่ร้อยละ 45 • ในด้านการลดอุปสงค์ ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐ-เอกชนอยู่ที่ร้อยละ 85 ซึ่งต่ำกว่าด้านอื่นๆ (การลดการแพร่ระบาด และการเพิ่มการเข้าถึงการบำบัด) ซึ่งมีคะแนนประมาณร้อยละ 87 • ข้อสังเกตคือ การเข้าถึงการบำบัดยังไม่ได้แก้ปัญหาการใช้ ATS
การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) 3. ประเทศอาเซียนต้องสร้างเครือข่ายในระดับปฏิบัติ เพื่อรับมือกับ อุปทานยาเสพติดที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา • ต้องมีความพยายามเพื่อบรรลุ ASEAN Single Window และต้องปรับปรุง AMLAT • การฝึกอบรมด้านการควบคุมเคมีภัณฑ์ต้องครอบคลุมเจ้าหน้าที่ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง เช่น จนท.ปราบ ศุลกากร อัยการ ฯลฯ ซึ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลแนวโน้มการผลิต/การใช้ ATS และเฮโรอีนให้เป็นปัจจุบันเสมอ • ต้องสร้างความเป็นหุ้นส่วนกับภาคอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์และยา • ควรมีการดำเนินโครงการพัฒนาทางเลือกในประเทศอื่นๆ นอกจากไทย โดยอ้างอิงจากการวิจัย
การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) 4. ต้องมีความพยายามด้านการลดอุปสงค์มากขึ้น • การป้องกันและการให้การศึกษาเบื้องต้นในแต่ละประเทศอยู่ในระดับที่น่าพอใจ แต่มีบางด้านที่ต้องปรับปรุง เช่น ทักษะชีวิต และทักษะของผู้ปกครอง ยังไม่มีการรายงานความร่วมมือของประเทศอาเซียนมากนัก • จำนวนผู้เสพ/ผู้ติดที่มากกว่าจำนวนสถานบำบัด ทำให้เกิดข้อพิจารณาว่าขยายจากการบำบัดในสถาบันไปสู่การบำบัดในชุมชนมากขึ้น • ยังไม่มีการระบุข้อแตกต่างระหว่างการบำบัด ATS กับอนุพันธุ์ฝิ่น ดังนั้นจึงต้องมีมาตรฐานสำหรับบุคลากรในสถานบำบัดและฟื้นฟู • ประเทศส่วนใหญ่ตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัย แต่ต้องมีการดำเนินการในระดับนโยบายมากขึ้น โดยเฉพาะด้านการป้องกัน/การศึกษา การบำบัด/ฟื้นฟู การติดตามและประเมินผล
การประเมินผลครึ่งแผน (Mid-term Review) 5. ความร่วมมือระดับภูมิภาคของอาเซียนมีส่วนสำคัญต่อความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน ไม่ว่าจะเป็นจัดทำกฎหมาย/ระเบียบข้อบังคับ หรือการเพิ่มขีดความสามารถในระดับบริหาร/ปฏิบัติการ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องส่งเสริมให้มีการลดช่องว่างระหว่างประเทศต่างๆ เนื่องจากยาเสพติดเป็นอาชญากรรมข้ามชาติ ประเทศอาเซียนส่วนใหญ่เห็นว่าจำเป็นต้องมีการเสริมสร้างกิจกรรมของคณะทำงาน 5 ด้าน
การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ • คณะทำงานด้านป้องกันยาเสพติด (Ph.) – ที่ประชุมมีมติให้ประเทศ • สมาชิกอาเซียนจัดทำร่างข้อเสนอเพื่อการพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกัน • ยาเสพติดผ่านศูนย์ฝึกอบรมด้านการป้องกันยาเสพติดที่จัดตั้งขึ้น • ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เสนอแนะให้ประเทศสมาชิกมีการ • แลกเปลี่ยนข้อมูลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศและรูปแบบการป้องกันฯ ที่มีประสิทธิ- • ภาพ ทั้งนี้ ได้มีข้อเสนอให้จัดทำข้อเสนอการฝึกอบรมที่ประสบผลสำเร็จใน • ประเทศอินโดนีเซีย คือ การใช้ภาคเอกชนสนับสนุนโครงการป้องกัน • ยาเสพติด
การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ 2. คณะทำงานด้านบำบัดรักษายาเสพติด (Ma) – ที่ประชุมเสนอให้มีการ จัดทำโครงการระดับภูมิภาคด้านการบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพและ การดูแลหลังการบำบัดรักษา ให้มีการเพิ่มพูนศักยภาพของบุคลากรด้านการ บำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ให้มีการจัดตั้งกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด (Pool of experts on Treatment and Rehabilitation at regional level)
การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ 3. คณะทำงานด้านปราบปรามยาเสพติด(Th) –ที่ประชุมเสนอให้มีการ ควบคุมอย่างเข้มงวดของการใช้ซูโดอีเฟรดรีนและยาที่ถูกกฎหมายอื่น ๆ พร้อมกับเสนอแนะให้มีการดำเนินการตามข้อเสนอของที่ประชุมรัฐมนตรี อาเซียนสมัยพิเศษด้านยาเสพติดที่ให้เสริมสร้างความเข้มแข็งของการสกัดกั้น ยาเสพติดโดยทำเป็นโครงการระดับภูมิภาคร่วมกันเช่นโครงการสกัดกั้น ยาเสพติด ณ ท่าอากาศยาน นอกจากนี้ที่ประชุมเสนอให้คณะทำงานด้าน การปราบปรามฯ ของ ASOD ร่วมอยู่ในการประชุม SOMTC ด้วย นอกเหนือ จากนี้ก็ได้เสนอให้เสริมสร้างศักยภาพและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ให้กับพื้นที่ตามแนวชายแดนในเรื่องของการสืบสวนติดตาม การข่าว นิติ- วิทยาศาสตร์ การสืบสวนทางการเงินและการดำเนินคดี
การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ • 4. คณะทำงานด้านวิจัย (SP) – ที่ประชุมเสนอให้ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ • ได้มีการจัดทำการสำรวจข้อมูลการแพร่ระบาดของยาเสพติด นำเสนอ • เกี่ยวกับรูปแบบการศึกษาวิจัยให้ที่ประชุมทราบ พร้อมกับเสนอให้มีการร่วม • พิจารณาข้อเสนอของเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านสาธารณสุขในการประชุมคณะ • ทำงานด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด นอกจากนี้ • คณะทำงานได้เสนอว่า เมื่อประเทศสมาชิกอาเซียนได้รับผลการศึกษาประเมิน • ระยะครึ่งแผนของ ASOD Workplan แล้ว ควรจะมีการทบทวนผลการศึกษา • และจัดลำดับความสำคัญของแผนปฏิบัติการในแต่ละคณะทำงาน โดย • โครงการระดับภูมิภาคนั้น จะขึ้นอยู่กับแผนปฏิบัติการที่ได้รับการจัดลำดับ • ความสำคัญแล้ว
การประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดการประชุมจนท.อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด (ASOD: ASEAN Senior Officials MeetingOn Drug Matters) คณะทำงาน 5 คณะ 5. คณะทำงานด้านพัฒนาทางเลือก – ที่ประชุมเห็นพ้องกันว่าความยั่งยืนเป็น เรื่องจำเป็นในการดำเนินโครงการพัฒนาทางเลือก และโครงการพัฒนาทาง- เลือกควรครอบคลุมในทุก ๆ ด้าน ทั้งในเรื่องของการศึกษา ปัจจัยพื้นฐาน ทางกายภาพ การบริการสาธารณสุขและบริการสังคมต่าง ๆ กองทุนกู้ยืม ขนาดเล็ก และความพยายามในการแก้ไขปัญหาความยากจน ปัจจัยที่นำไปสู่ ความสำเร็จของโครงการพัฒนาทางเลือก คือ การพัฒนาบุคลากร การตลาด การค้าและผลิตภัณฑ์จากการพัฒนาทางเลือก นอกเหนือจากนี้ ประเทศ สมาชิกเห็นว่าควรมีการจัดทำแผนปฎิบัติการและข้อเสนอโครงการที่รับรอง โดยประเทศสมาชิกเพื่อขอรับการสนับสนุนความช่วยเหลือทั้งทางวิชาการและ ทางการเงินจากกลุ่มประเทศสมาชิกเอง ประเทศคู่เจรจาและองค์การระหว่าง ประเทศอื่น ๆ
กรอบความร่วมมือด้านเสพติดในภูมิภาคอาเซียนกรอบความร่วมมือด้านเสพติดในภูมิภาคอาเซียน ความร่วมมือ 7 ฝ่ายภายใต้ MOU 1993 ความร่วมมือ ในกรอบอาเซียน ความร่วมมือ ทวิภาคี กรอบ ความร่วมมือ • (ASOD) • คณะทำงาน • 1. ป้องกัน (Phi) • 2. บำบัดรักษา (Ma) • 3. ปราบปราม (Th) • 4. วิจัย (SP) • 5. พัฒนาทางเลือก • (SOMTC) • ผู้นำ • (Lead Shepherd) • Illicit Drugs • Trafficking Sub-Regional Action Plan ไทย-พม่า ไทย-ลาว ไทย-กัมพูชา ไทย-จีน ไทย-เวียดนาม ไทย-มาเลเซีย กลไก การประชุมระดับรัฐมนตรี/จนท.อาวุโส สาขาความร่วมมือ 5 ด้าน 1) ลดอุปสงค์ยาเสพติด 2) ยาเสพติดและโรคเอดส์ 3) การพัฒนาทางเลือก 4) การปราบปรามยาเสพติด 5) กระบวนการทางกฎหมาย -ด้านปราบปราม -ด้านบำบัดรักษา -ด้านพัฒนาทางเลือก -ความช่วยเหลือทางวิชาการ/พัฒนาศักยภาพ ASOD Workplan (2009-2015) Mid-term review ปฏิญญาร่วมว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียนภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) (Joint Declaration For a Drug Free ASEAN) เป้าหมาย
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องพื้นที่ปลูกพืชเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • วิเคราะห์สาเหตุ ปัญหาการปลูกพืชเสพติด • จัดสรรเงินทุนภาครัฐสนับสนุนเกษตรกรที่เลิกปลูกบูรณาการกับแผนเศรษฐกิจ • สำรวจพืชเสพติดต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนประสบการณ์ • พัฒนาความร่วมมือทวิภาคี/ภูมิภาคด้าน AD/share best practice/experience • ส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วนกับทุกภาคส่วน องค์กรระหว่างประเทศ • เพิ่มมาตรการทางกฎหมาย 1. พื้นที่ปลูกพืชเสพติด ไม่มีนัยสำคัญ ในปี 2558 • ร่วมกับโครงการหลวง แม่ฟ้าหลวง ดำเนินโครงการพัฒนาทางเลือกในประเทศและต่างประเทศ • มีการสำรวจพืชเสพติดประจำปี • มีการฝึกอบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับประเทศต่างๆ • โครงการขยายผลโครงการหลวง และโครงการพัฒนาทางเลือกอย่างยั่งยืนไทย-เมียนมาร์ • การสำรวจพืชเสพติดประจำปี และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องพื้นที่ปลูกพืชเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • โครงการขยายผลโครงการหลวง และโครงการพัฒนาทางเลือกอย่างยั่งยืนไทย-เมียนมาร์ และเผยแพร่ AD ตำราพระเจ้าอยู่หัวผ่านการฝึกอบรม ดูงาน • ผลักดันสิทธิทางภาษีสินค้า AD ใน AFTA • ผลักดันInternational Guiding Principle on AD ในระดับสากลต่อไป • ร่วมกับโครงการหลวง แม่ฟ้าหลวง ดำเนินโครงการพัฒนาทางเลือกในประเทศและต่างประเทศ • ใช้กลไกการตลาดและมาตรการภาษีสินค้า AD ผ่านกรอบความร่วมมือเศรษฐกิจ ACMECs • มีการฝึกอบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับประเทศต่างๆ • พัฒนา International Guiding Principle on AD ในระดับสากล • การพัฒนาอย่างยั่งยืน การหารายได้ทดแทนพืชเสพติดผ่านความร่วมมือภูมิภาค • จัดการความยากจน ความมั่นคงทางอาหาร เกษตรกรที่เลิกปลูก การย้ายพื้นที่ปลูกพืชเสพติด • ส่งเสริมการตลาดสำหรับสินค้า AD • พัฒนาความช่วยเหลือทางวิชาการด้านปลูกพืชทดแทน สร้างความเป็นสถาบันด้านการพัฒนาทางเลือก 2. จัดให้มีหนทางพัฒนาอย่างยั่งยืนสำหรับผู้เคยปลูกพืชเสพติด
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • สนับสนุนโครงการ Prism และ Cohesion แสวงหาความช่วยเหลือเพื่อมาตรฐานการควบคุมของอาเซียน • ร่วมมือกับศุลกากรบูรณาการรูปแบบการแจ้งข่าวสารสอดรับกับ AFTA และ ASEAN Single Window • พัฒนาศักยภาพบุคลากรในประเทศ • พัฒนาศักยภาพการตรวจพิสูจน์ • พัฒนาความเป็นหุ้นส่วนกับอุตสาหกรรมเคมี ยา • แลกเปลี่ยนประสบการณ์ Best Practice • PEN • พัฒนากฎหมายและกลไกมาตรการเสริม • มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่อเนื่องกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง PEN • ASEAN Precursors and Chemical Control Training • Drug Profiling • Code of Conduct • ให้ Pseudoephedrine เป็นวัตถุออกฤทธิ์ฯ มีโทษรุนแรงขึ้น • ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพ CLMV • ยกระดับ Regional Drugs Scientific Detection Center • พัฒนาความเป็นหุ้นส่วน ภาคีเครือข่ายควบคุมเคมีภัณฑ์ และสารตั้งต้นต่อเนื่อง • ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนสร้างเครือข่ายเจ้าหน้าที่สนามอย่างต่อเนื่อง 1. ขจัดการลักลอบเคมีภัณฑ์และสารตั้งต้น และขจัดเครือข่ายการผลิตยาเสพติด
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • ใช้กฎหมายยึดทรัพย์ ฟอกเงิน CD กับอาชญากรรมเกี่ยวข้องยาเสพติดเต็มที่ • อบรม จนท.ปราบปราม ศุลกากร และที่ปฏิบัติงานชายแดน • เพิ่มการแลกเปลี่ยนข้อมูลในหน่วยปราบและกระบวนการยุติธรรม • ปรับสภาพหน่วยตามเทคโนฯ เส้นทางลักลอบที่เปลี่ยนไป • พัฒนาการรวบรวมและยอมรับพยานหลักฐานของกระบวนการยุติธรรม • ติดตามการขายยาทาง Cyber • กระตุ้นการแลกเปลี่ยนข้อมูลกลุ่มเครือข่ายนักค้า • พัฒนาศักยภาพจนท. ศาล อัยการ • ใช้ ASEAN MLAT ให้เป็นประโยชน์ • ยึดทรัพย์กว่า 5,000 คดี เกือบ 2,000 ล้านบาท • บูรณการมาตรการยึดทรัพย์ ฟอกเงิน ภาษี • แลกเปลี่ยนข้อมูลเครือข่าย MO และ Drug Profiling อย่างต่อเนื่อง • ประชุม/อบรมกระบวนการยุติธรรมสร้างความเข้าใจอย่างต่อเนื่อง • ประชุม/อบรมเจ้าหน้าที่ชายแดนทั้งทวิภาคี พหุภาคีเป็นระยะ • บูรณาการมาตรการยึดทรัพย์อย่างต่อเนื่อง • ประชุม/อบรมกระบวนการยุติธรรมต่อเนื่อง • ประชุม/อบรมเจ้าหน้าที่ชายแดนต่อเนื่อง 2. ขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบลำเลียงยาเสพติด
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • ผลักดันการประชุมทวิ BLO ต่อเนื่อง • พัฒนาการปราบปรามข้ามพรมแดนระดับพหุภาคี • ผลักดันให้สมาชิกจัดตั้ง AITF และจุดประสาน • การประชุม AITF ที่อินโดนีเซียต้นเดือน ก.พ 56 • รวมพลังขยาย/จัดตั้ง BLO และร่วมมือในระดับท้องถิ่น ประเทศ ภูมิภาค • ร่วมมือเข้มข้นในระดับท้องถิ่น ประเทศ ภูมิภาค • เพิ่มความร่วมมือต่อสู้การลักลอบลำเลียงทางน้ำ อากาศ และจัดตั้งระบบการติดต่อสื่อสาร ท่าเรือและท่าอากาศยานสากล 3. ส่งเสริมความร่วมมือข้ามพรมแดน • มี BLO กับพม่า 3 จุด ลาว 11 จุด กัมพูชา 7 จุด • มอบวัสดุอุปกรณ์สนันสนุนเสริมศักยภาพของ BLO ลาว พม่าและกัมพูชา • จัด AITF Workshop พ.ค. 55 และ AITF Consultation พ.ย. 55 • ฟิลิปปินส์
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • รณรงค์สร้างความตระหนักและป้องกัน • ป้องกันการใช้ยาในครอบครัว โรงเรียน สถานประกอบการ ชุมชน • พัฒนาโครงการพิเศษสำหรับกลุ่มเสี่ยง • ขอรับการสนับสนุนจากประชาชน • เข้มข้นโครงการป้องกันการใช้ยาเสพติดกับการแพร่ HIV/AIDs • พัฒนาคู่มือฝึกอบรมสำหรับวางแผนและปฏิบัติ • สร้างความเห็นหุ้นส่วนรัฐ เอชน สื่อมวลชน สถาบันการศึกษา ศาสนา • แลกเปลี่ยนประสบการณ์ บทเรียน • พัฒนาเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญและผู้ฝึกอบรมการลดอุปสงค์ • โครงการบ้านอุ่นใจ • การอบรมครูพระ ครู DARE • การนำศิลปินดาราร่วมรณรงค์ • อบรมวิทยากรป้องกันยาเสพติด วิทยากรกระบวนการ • โครงการหมู่บ้านกองทุนแม่ • คู่มือวิทยากรป้องกัน • รณรงค์ต่อเนื่อง • ใช้ประโยชน์จากวิทยากรที่พัฒนา ครูพระ ครู DARE ต่อเนื่อง • กระตุ้นภาคเอกชนให้ความร่วมมือสนับสนุนการป้องกันยาเสพติดในสถานประกอบการ • การพัฒนาวิทยากรต่อเนื่อง 1. ลดการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • จัดระบบบำบัดให้เหมาะสม • ขยายกิจกรรมบำบัดและดูแลภายหลังการบำบัดในชุมชน • สร้างความมั่นใจด้านการสนับสนุนของครอบครัว ชุมชนในการกลับเข้าสังคม • พัฒนาระบบข้อมูลทั้งระบบ • อำนวยความสะดวกการเข้าถึงบริการ • สร้างสถานที่บำบัดทุกพื้นที่ที่ทำได้ • จัดให้มีความช่วยเหลือการสร้าง บำรุงรักษาสถานบำบัด • โครงการบ้านอุ่นใจ • บำบัดกว่า 5 แสนคน • ระบบ บสต. • การติดตามดูแลหลังบำบัด • พัฒนาระบบบูรณาการการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพให้สามารถเข้าถึงบริการได้สะดวกเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ • การติดตามดูแลหลังการบำบัดรักษาอย่างเข้มข้น • พัฒนาระบบ บสต. ต่อเนื่อง 2. เพิ่มช่องทางในการเข้ารับบริหารด้านบำบัด ฟื้นฟู เพื่อสร้างความมั่นใจการกลับคืนสู่สังคม
แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดยาเสพติด 2015 เป้าหมาย : การลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลการดำเนินการ การดำเนินการต่อไป • ประสานความร่วมมือรัฐ ประชาสังคม วางแผน ดำเนินการ ติดตามผลในระดับพื้นที่ ประเทศ และจัดให้มีการฝึกอบรมวิชาชีพ การจ้างงาน • เป็นหุ้นส่วนกับสถาบันการศึกษา วิจัย พัฒนารูปแบบการสื่อสารมวลชน • สบับสนุนองค์กรศาสนา ชุมชน เอกชนในการดำเนินกิจกรรมสร้างความตระหนักกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ • ทำโครงการป้องกันในสถานประกอบการ และฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงาน • พัฒนาแนวทางระดับประเทศส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคเอกชน ชุมชน ในกิจกรรมสร้างความตระหนัก • ให้องค์กรที่ไม่ใช่ภาครัฐเข้ามาร่วมในกระบวนการจัดทำนโยบาย วางแผน และดำเนินการป้องกันและการศึกษา • เครือข่ายวิชาการสารเสพติด • การประชุมร่วมกับ TNI แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นการจัดทำนโยบาย • การอบรมครูพระ ครู DARE ครูแกนนำ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน • โครงการบ้านอุ่นใจ กองทุนแม่ • ผลิตชุดนิทรรศการ สื่อ • ศิลปินต้านยา • กิจกรรมในโรงเรียน • แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็นเพื่อจัดทำนโยบายด้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง • ผลักดันให้ภาคีเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างความตระหนักการป้องกันการใช้ยาเสพติดอย่างจริงจัง 3. สนับสนุนและส่งเสริมภาคีทั้งรัฐ เอกชน ประชาสังคม ให้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาการใช้ยาเสพติด
ภาพรวมแผนผังกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศภาพรวมแผนผังกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อการสกัดกั้นและปราบปรามยาเสพติด • NCCD ACCORD ASOD เป้าหมายมุ่งให้เกิดปฏิบัติการร่วม การดำเนินการตามหมายจับ การทลายแหล่งผลิต และ พัฒนาประสิทธิภาพ BLOs กลไกภูมิภาค อนุสกัดกั้น อนุตปท. อนุปราบ MOU1993 JC (กต.) Bilateral Meetings • ความช่วยเหลือ (TCAS) • การประชุมระหว่างประเทศ ผู้สนับสนุน/ ขับเคลื่อนแผน ปปส.สกต. JWG ด้านความมั่นคง (สมช.) BIMSTEC(สมช.) • บริหารจัดการ • รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล • การสืบสวนร่วม ปปส. สปป. ผู้รับผิดชอบหลัก AMMTC (สตช.) กลไกที่เกี่ยวข้อง ผู้ประสานงาน ในพื้นที่ระหว่าง BLOไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน • จัดประชุมผู้ว่าไทย-ลาวอีสานบน • จัดประชุมผู้ว่าไทย-ลาวอีสานล่าง • จัดประชุมผู้ว่าไทย-กัมพูชา GBC/RBC (กห.) ปปส.ภ. ผู้ว่า-เจ้าแขวง (มท.) • Tactical Trainings ปปส. • (สพบ./สปป./สวพ.) • การฝึกร่วม • หลักสูตรการข่าว • หลักสูตรปราบปราม/สกัดกั้น • หลักสูตรตรวจพิสูจน์ ศพส.จ. BLOs (T) (นายอำเภอ) BLOs (MY/CA/L) ศพส.มท. กลไกพื้นที่ ศพส.อ กิจกรรมร่วมกันเป็นประจำ รายงานตาม หขส. ตามห้วงเวลา ประชุมอย่างเป็นทางการอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี ต.ภ./ตม. ศุลกากร
ความร่วมมือในกรอบอาเซียนเพื่อการควบคุมยาเสพติดความร่วมมือในกรอบอาเซียนเพื่อการควบคุมยาเสพติด ปฏิญญาร่วมว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียนภายในปี 2558 (Joint Declaration For a Drug Free ASEAN 2015) ASOD Workplan (2009-2015) 3-4 เม.ย. 55 ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 20 ณ กรุงพนมเปญ (ASEAN Leaders’ Declaration on Drug-Free ASEAN 2015) ASOD Workplan 2012 Mid-term Review 31 ส.ค. 55 การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนสมัยพิเศษด้านยาเสพติด ณ กรุงเทพมหานคร (Special ASEAN Ministerial Meeting on Drug Control) มุ่งเน้นความร่วมในการสกัดกั้นพื้นที่ชายแดนและป้องกันเยาวชนคนรุ่นใหม่ไม่ให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด