1.13k likes | 2.3k Views
Immunology. By Wilairat Anurakolan. Immunology. วิทยาภูมิคุ้มกัน/ Immunology เป็นวิชาที่ว่าด้วยการ ตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย โดยเรียกระบบที่ทำหน้าที่ในการป้องกันเชื้อโรคหรือ สิ่งแปลกปลอมว่า ระบบภูมิคุ้มกัน/ Immune system. หน้าที่ของระบบภูมิคุ้มกัน.
E N D
Immunology By Wilairat Anurakolan
Immunology วิทยาภูมิคุ้มกัน/ Immunology เป็นวิชาที่ว่าด้วยการ ตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย โดยเรียกระบบที่ทำหน้าที่ในการป้องกันเชื้อโรคหรือ สิ่งแปลกปลอมว่า ระบบภูมิคุ้มกัน/ Immune system หน้าที่ของระบบภูมิคุ้มกัน • Defense against parasites • Homeostasis • Immunological surveillance
The immune response • Natural (non-specific) immunity - cellular : phagocytosis - humoral : complement and other substances • Acquired (specific) immunity - cellular : regulatory and effector T lymphocytes, lymphokines - humoral : B lymphocytes, antibodies, lymphokines
Natural Immunity
Natural/ Innate Immunity 1. External defense mechanism กลไกป้องกันการบุกรุกของเชื้อโรคจากภายนอก จัด เป็นกลไกการป้องกันตัวด่านแรก (first line of defense mechanism)ประกอบด้วยสิ่งกีดขวางเชื้อโรค (barrier) • Physical barrier • Chemical barrier
Physical barrier 1. ความหนา และการลอกหลุดของผิวหนัง 2. อุณหภูมิของร่างกาย 3. สารเมือก และ cilia ในระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์ 4. Reflex : การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ : การไอ การจาม การหลั่งน้ำลาย น้ำตา
Chemical barrier Lactic acid : เหงื่อและสารน้ำในช่องคลอด มีฤทธิ์ ต้านแบคทีเรียแกรมลบ Lysozyme : น้ำลาย น้ำตา และน้ำมูก มีฤทธิ์ทำลาย mucopeptide/ peptidoglycan ที่ผนังเซลล์ของ แบคทีเรียแกรมบวก Fatty acid : ผิวหนัง มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย (กรดไขมัน ไม่อิ่มตัว) และเชื้อรา (กรดไขมันอิ่มตัว)
Chemical barrier Glycolipid : น้ำลาย ป้องกันฟันผุ Lactoferrin : สารคัดหลั่ง ขัดขวางการเจริญของ แบคทีเรียที่ต้องใช้ธาตุเหล็กในการดำรงชีวิต HCl : กระเพาะอาหาร (pH 1.0) ทำลาย enveloped virus และแบคทีเรีย Spermine : น้ำอสุจิ ทำลายแบคทีเรียแกรมบวก
Natural/ Innate Immunity 2. Internal defense mechanism เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่เนื้อเยื่อได้แล้ว ร่างกายจะป้องกันตัวเอง โดยมีความต้านทานภายในร่างกาย จัดเป็นการป้องกันตัว ด่านที่ 2 (second line of defense) ประกอบด้วยกลไก 1. Phagocytosis 2. Complement system 3. Interferon (IFN) 4. Inflammatory
Phagocytosis กระบวนการจับกินจุลินทรีย์/ สิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย โดย phagocytic cells/ phagocytes พบครั้งแรกในปี ค.ศ.1883โดย Elie Metchnikoff นักสัตววิทยาชาวรัสเซีย Phagocytes ที่พบในร่างกายแบ่งได้เป็น 2 ชนิด • Polymorphonuclear leucocytes (PMNs) • Mononuclear leucocytes
Polymorphonuclear leucocytes • Phagocyte ที่นิวเคลียสมีลักษณะเป็น lobe • ในไซโตพลาสซึมมี granule จำเพาะ • ประกอบด้วย • : Neutrophil • : Eosinophil • : Basophil • : Mast cell
Mononuclear leucocytes • Phagocyte ที่นิวเคลียสไม่เป็น lobe และใน • ไซโตพลาสซึมไม่มี granule จำเพาะ • ประกอบด้วย • : Monocyte • : Macrophage
Macrophage • เกิดจาก monocyte ในกระแสเลือด • รูปร่างไม่แน่นอน ขึ้น กับเนื้อเยื่อที่อาศัยอยู่ • หน้าที่ : กำจัด antigen ด้วยวิธี phagocytosis/ ADCC : antigen presenting cell ให้กับ lymphocyte
antigen ขนาดใหญ่ : Foreign body giant cell/ Multinucleated giant cell • Macrophage ในบางอวัยวะมีชื่อเรียกเฉพาะ ในตับ : Küpffer cells ในม้าม : Littoral cells ในปอด : Alveolar dust cells ในต่อมน้ำเหลือง : Reticular cells ในสมอง : Microglial cells
Phagocytosis แบ่งเป็น 5ขั้นตอนคือ 1. Chemotaxis : phagocytes ถูกดึงดูดมา ยังบริเวณที่มีจุลชีพอยู่โดยสารเคมีบริเวณนั้นเช่น C5a/ ตัวจุลชีพเองเช่น endotoxin ของแบคทีเรียแกรมลบ 2. Attachment : จุลชีพและ phagocytes เข้ามาประชิดกันซึ่งอาจเกิดได้เอง แต่ส่วนใหญ่ต้องอาศัย opsoninได้แก่ C3b และแอนติบอดีชนิด IgG
Attachment www.uoguelph.ca/mbnet/323IMMUN/ D2_COMPL/F13-12A.GIF
การมี opsonin อยู่บนผิวจุลชีพแล้วช่วยส่งเสริมให้เกิด phagocytosis เรียกว่า opsonization http://project.bio.iastate.edu/Courses/MIPM302/302new/8_3abagrxn.html
Phagocytosis by Enhanced Attachment (Opsonization) http://www.cat.cc.md.us/courses/bio141/lecguide/unit1/bacpath/phagsum.html
3. Ingestion : phagocytes ยื่น pseudopodia ออกไปล้อมจุลชีพแล้วกลืนกินเข้าไปในเซลล์ เกิดเป็นถุงที่ภายในมี จุลชีพอยู่เรียกว่า phagosome ต่อมา lysosome หรือ granule ที่อยู่ภายในเซลล์จะเคลื่อนเข้ามาชิด และเชื่อมต่อเป็น phagolysosome
4. Intracellular killing : ใช้พลังงานจาก anaerobic glycolysis โดยเอนไซม์ต่างๆ ใน lysosome จะถูกถ่ายเทเข้าไปสู่ phagosome http://project.bio.iastate.edu/Courses/MIPM302/302new/7_2parasitism.html
Intracellular killing 1. Oxidative mechanism เมื่อ phagocytes สัมผัสกับจุลชีพจะมีการเปลี่ยนแปลงใน oxidative metabolism ของเซลล์ที่เรียกว่า respiratory burst คือ เซลล์จะมีการใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น โดยผ่าน hexose monophosphate shunt(HMS) ทำให้มีการสร้าง superoxide anion (O2-) และ hydrogen peroxide (H2O2) เพิ่มมากขึ้น
Haber-Weiss reaction: hydrogen peroxide (H2O2) ทำปฏิกิริยากับ superoxide anion (O2-) ทำให้เกิด hydroxyl radical(OHº) และ singlet oxygen (1O2)
Myeloperoxidase-hydrogen peroxide-halide system hydrogen peroxide (H2O2) ทำปฏิกิริยากับ halide (Cl-) โดยอาศัย เอนไซม์ myeloperoxidase เกิด hypochlorous acid (HOCl)
สารที่ได้ทั้งหมดนี้มีความเป็นพิษสูง สามารถฆ่าแบคทีเรียรา ไวรัสและ mycoplasma ได้โดยไม่ต้องอาศัย lysosome fusion
Lysosomal enzyme Intracellular killing 2. Non-oxidative mechanism กลไกที่อาศัยสิ่งต่างๆ ภายใน granule ของ phagocytes Gram (+ve) http://www.arches.uga.edu/~emilyd/theory.html
Cationic protein (cathepsin G, defensin) ทำลาย outer lipid bilayer ของ Gram (-ve) http://www.arches.uga.edu/~emilyd/theory.html
Lactoferrin : แย่งจับธาตุเหล็ก (แบคทีเรีย และรา) • Lysozyme :mucopeptide ที่ผนังเซลล์แบคทีเรีย นอกจากนั้นใน granule ของ phagocytes ยังมีเอนไซม์ อีกหลายชนิดที่สามารถย่อยสารต่างๆ เช่น protein, lipid, nucleic acid, nucleotide, glycan, proteoglycan, glycoprotein เป็นต้น 5. Release : การปล่อยชิ้นส่วนจุลชีพที่ย่อยแล้ว ออกมานอกเซลล์
Phagocytosis http://elmo.shore.ctc.edu/biotech/Immunology/notes4-4.htm
Complement system • กลุ่มพลาสมาโปรตีนพบในซีรัม • ปกติอยู่ในสภาพที่ไม่ทำงาน (inactive form) • เมื่อถูกกระตุ้นจะทำปฏิกิริยาซึ่งกันและกันใน ลักษณะต่อเนื่องเหมือนขั้นน้ำตก (cascade)
หน้าที่ของคอมพลีเมนต์หน้าที่ของคอมพลีเมนต์ • cytolysis : ย่อยสลายจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรค • opsonization : เพิ่มประสิทธิภาพการเกิด phagocytosis • inflammation : กระตุ้นการปลดปล่อย histamine http://www.uoguelph.ca/mbnet/323IMMUN/D2_COMPL/COMPLEME.HTM
การกระตุ้น complement http://www.montana.edu/wwwwami/523/Reading7b.htm
1. Classical pathway • ภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ • กระตุ้นโดย antigen-antibody complex (IgG หรือ IgM) • อาจเกิดโดยไม่ต้องอาศัย Ab แต่ถูกกระตุ้นด้วยจุลชีพเช่น staphylococcal protein A, mycoplasma และ RNA tumor virus http://www-immuno.path.cam.ac.uk/~immuno/part1/lec15/lec15_97.html
2. Alternative pathway • ภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ • ไม่ต้องอาศัย Ab • ป้องกันการติดเชื้อระยะเริ่ม • แรกก่อนที่จะมีการสร้าง Ab • ถูกกระตุ้นโดยส่วนประกอบ • ผนังเซลล์ของจุลชีพรวมทั้ง • เซลล์ที่มีการติดเชื้อไวรัส
3. MB Lectin pathway MBL (family เดียวกับ C1q)จะ จับกับ mannose บนผิวเซลล์ แบคทีเรีย จากนั้น MBL จะทำ ปฏิกิริยากับ MASP-1, -2 (MBL associated serineproteinase) ซึ่งจะนำไปสู่การกระตุ้น C4 และ C2 ต่อไป http://nejm.org/teaching_tools/2janeway.asp
A C T I V A T I O N C O M P L E M E N T http://www.socgenmicrobiol.org.uk/JGVDirect/18709/Figs/F1_pg.htm
http://www.lifesci.utexas.edu/faculty/sjasper/bio301L/immune.htmlhttp://www.lifesci.utexas.edu/faculty/sjasper/bio301L/immune.html
Classical Pathway http://medtech.cls.msu.edu/ISL/immunology/comp1.htm
Alternative Pathway http://medtech.cls.msu.edu/ISL/immunology/comp2.htm
The Membrane Attack Complex (MAC) Causing Cell Lysis http://www.cat.cc.md.us/courses/bio141/lecguide/unit2/innate/mac.html
การกระตุ้น complement ผ่าน classical และ alternative pathway
Acute phase protein พลาสมาโปรตีนที่เพิ่มปริมาณมากขึ้นในการตอบสนองต่อ ภาวะโรคติดเชื้อ/ การทำลายเนื้อเยื่อ โปรตีนที่สำคัญได้แก่ C-reactive protein(CRP), mannose binding protein (MBP) CRP มีคุณสมบัติในการจับจุลชีพที่มี phospharylcholine ใน membrane โดยอาศัย Ca2+ ion ได้สารโมเลกุลเชิงซ้อน ที่สามารถกระตุ้น complement system ได้ C3b มาเกาะบน ผิวจุลชีพทำให้การจับกิน (phagocytosis) ดีขึ้น
MBP จะจับกับ mannose ที่อยู่บน ผิวเซลล์แบคทีเรีย มีฤทธิ์ในการ ทำลายจุลชีพ เหมือนกับ CRP http://www-immuno.path.cam.ac.uk/~immuno/part1/lec15/lec15_97.html
Interferon (IFN) โปรตีนที่สร้างขึ้นในเซลล์มีฤทธิ์เป็นสารต้านไวรัสพบว่า เซลล์ที่มีนิวเคลียสที่สมบูรณ์ทุกชนิดสามารถสร้าง IFN ได้ ตัวกระตุ้นการสร้าง IFN (IFN inducer) - RNA viruses, DNA viruses - dsRNA, intracellular bacteria (rickettsiae), bacterial endotoxin และสารอื่นๆที่มีคุณสมบัติขัดขวางการสร้างโปรตีน
Interferon inducer http://gsbs.utmb.edu/microbook/ch049.htm
Interferon (IFN) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1. Type I interferon :IFN-alpha (MNP) และ IFN-beta (fibroblast) :ตอบสนองต่อไวรัสที่พบครั้งแรกโดยตรง 2. Type II interferon :IFN-gamma หลั่งจาก T cell ที่รู้จัก Ag ของไวรัสมาก่อน :คุณสมบัติต้านไวรัสมาจาก regulatory function ของIFN
กลไกการออกฤทธิ์ของ IFN ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor จำเพาะบน cell membrane แล้วกระตุ้น transcription ของยีนหลายชนิดภายในเซลล์ ทำให้เซลล์นั้นมีสภาพดื้อต่อการติดเชื้อไวรัส/ antiviral state ดังนั้น IFN จะไม่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ที่สร้างขึ้นมาจนกว่าจะ ถูกปล่อยออกไปและจับกับ receptor บนผิวของเซลล์อื่น
http://www.blc.arizona.edu/Marty/429/Lectures/429_00lect5.htmlhttp://www.blc.arizona.edu/Marty/429/Lectures/429_00lect5.html