760 likes | 1.01k Views
สถานการณ์ปัญหาเอดส์ของประเทศไทย ปี พ . ศ . 2551 จัดทำโดย MIS-Team สำนักงานบริหารโครงการ กองทุนโลก. ข้อมูลอ้างอิง. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรงสาธารณสุข รายงานผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ประจำปี 2532 – 2 551 ( รอบที่ 1-2 6)
E N D
สถานการณ์ปัญหาเอดส์ของประเทศไทย ปี พ.ศ.2551จัดทำโดยMIS-Teamสำนักงานบริหารโครงการ กองทุนโลก
ข้อมูลอ้างอิง • สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรงสาธารณสุข รายงานผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ประจำปี 2532 – 2551(รอบที่ 1-26) • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร กรมแพทย์ทหารบก รายงานความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีและปัจจัยด้านประชากรในชายไทยที่เข้าเป็นทหารกองประจำการ ปี 2534-2551 • ศูนย์บริการโลหิต สภากาชาดไทย รายงานความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มโลหิตบริจาค ประจำปี 2533-2551 • สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรงสาธารณสุข รายงานผลการเฝ้าระวังเด็กที่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวี ใน 14 จังหวัดนำร่อง ปี 2544-2551 • สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรงสาธารณสุข สถานการณ์โรคเอดส์ โดยการรายงานผู้ป่วย ประเทศไทย ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2552 • ศูนย์ความร่วมมือไทย – สหรัฐ ด้านสาธารณสุข ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย ฯลฯความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชายในกรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ และภูเก็ต ปี 2548 และ 2550 • สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรงสาธารณสุข โครงการนำร่องเพื่อเฝ้าระวังอุบัติการณ์การติดเชื้อเอชไอวี กลุ่มหญิงรับบริการฝากครรภ์ พนักงานบริการหญิง ปี 2547-2551 • กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, East-West Center, ศูนย์วิจัย สภากาชาดไทย,Family Health International การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อในประเทศไทย Integrated analysis and advocacy to improve responses (A2)
ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วย (แบบรายงาน 506/1) สำนักระบาดวิทยา
จำนวนผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามปีที่เริ่มป่วยและปีที่เสียชีวิตจำนวนผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามปีที่เริ่มป่วยและปีที่เสียชีวิต จำนวน (ราย) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วย (แบบรายงาน 506/1), สำนักระบาดวิทยา
อัตราผู้ป่วยเอดส์ต่อประชากรแสนคนจำแนกตามปีที่เริ่มป่วยและปีที่เสียชีวิตอัตราผู้ป่วยเอดส์ต่อประชากรแสนคนจำแนกตามปีที่เริ่มป่วยและปีที่เสียชีวิต อัตราต่อประชากรแสนคน ที่มา: ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วย (แบบรายงาน 506/1), สำนักระบาดวิทยา
อัตราผู้ป่วยเอดส์ต่อประชากรแสนคนจำแนกตามภาคและปีที่เริ่มป่วยอัตราผู้ป่วยเอดส์ต่อประชากรแสนคนจำแนกตามภาคและปีที่เริ่มป่วย อัตราต่อประชากรแสนคน ที่มา: ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วย (แบบรายงาน 506/1), สำนักระบาดวิทยา
อัตราส่วนผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามเพศชาย:หญิงอัตราส่วนผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามเพศชาย:หญิง อัตรา ชาย:หญิง ที่มา: ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วย (แบบรายงาน 506/1), สำนักระบาดวิทยา
จำนวนผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามกลุ่มอายุจำนวนผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ (ปี) 50+ 40-49 30-39 20-29 0-19 ที่มา: ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วย (แบบรายงาน 506/1), สำนักระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังความชุกของการติดเชื้อเอชไอวี (HIV Sero Surveillance System) สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงที่มาฝากครรภ์และโลหิตบริจาค ความชุก (%) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มหญิงที่มาฝากครรภ์ จำแนกตามภูมิภาค ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มโลหิตบริจาค จำแนกตามภูมิภาค ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มโลหิตบริจาค ที่มา: ศูนย์บริการโลหิต สภากาชาดไทย
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงที่มาฝากครรภ์ ความชุก (%) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มหญิงที่มาฝากครรภ์ จำแนกตามลำดับครรภ์ ประเทศไทย พ.ศ. 2540 – 2550 ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มหญิงที่มาฝากครรภ์ จำแนกตามกลุ่มอายุ ประเทศไทย พ.ศ. 2540 – 2550 ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี ทหารกองประจำการ ความชุก (%) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), AFRIMS
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีด ความชุก (%) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงขายบริการและชายที่มาตรวจกามโรค ความชุก (%) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มชาวประมง และแรงงานต่างชาติ ความชุก (%) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด จำแนกตามภูมิภาค ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มชายที่มาตรวจกามโรค จำแนกตามภูมิภาค ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มหญิงขายบริการทางตรง จำแนกตามภูมิภาค ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มหญิงขายบริการทางแฝง จำแนกตามภูมิภาค ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มชายขายบริการทางเพศใน 4 จังหวัดท่องเที่ยว ชลบุรี เชียงใหม่ ภูเก็ต สงขลา ความชุก (%) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
Gap Analysis GF Round6 การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอดส์จำเพาะท้องถิ่น ชายบริการทางเพศ % 25 20 15 10 5 0 2540 2541 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2542 2543 ชลบุรี เชียงใหม่ สงขลา ภูเก็ต ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
Gap Analysis GF Round6 ความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอ็ชไอวีกลุ่มชายรักชาย-กรุงเทพฯ ชายรักชาย: เพศชายที่ในช่วง 6เดือนที่ผ่านมาเคยมีเพศสัมพันธ์ทางปากหรือทวารหนักกับผู้ชายด้วยกัน • ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายรักชาย ร้อยละ 17.3 (ตัวอย่าง 1,121) ตรวจน้ำลาย • ใน 6เดือนที่ผ่านมา มีเพศสัมพันธ์กับทั้งหญิงและชาย ร้อยละ 22.3 • ในช่วง 3เดือนที่ผ่านมา มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน ร้อยละ 36.0 ปัจจัยเสี่ยง กลุ่มชายรักชาย HIV+ • ดื่มแอลกอฮอล์ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 16.1 % • เคยใช้สารเสพติด15.2 % • มีเพศสัมพันธ์กับหญิงในช่วง 6 เดือน 11.2 % • ไม่ใช้ถุงยางอนามัยอย่างสม่ำเสมอในช่วง3เดือน • เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับคู่รักชาย22.2 % • เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนชั่วคราวชาย 22.2 % • เคยมีแผลที่อวัยวะเพศ 27.6 % • ไม่เคยตรวจเชื้อเอชวี 17.5 % ข้อมูลจาก ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข กรมควบคุมโรค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย ฯลฯ
Gap Analysis GF Round6 การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวีจำเพาะท้องถิ่น ลูกเรือประมง % 25 20 15 10 5 0 2541 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2542 ตราด ชุมพร ระนอง ตรัง ปัตตานี ภูเก็ต สงขลา ที่มา: ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี (HIV Sero Surveillance), สำนักระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (Behavior Surveillance System) สำนักระบาดวิทยา
พฤติกรรมทางเพศกลุ่มหญิงขายบริการ (1) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
พฤติกรรมทางเพศกลุ่มหญิงขายบริการ (2) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
พฤติกรรมทางเพศกลุ่มหญิงขายบริการ (3) ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
ร้อยละของนักเรียนที่เคยมีเพศสัมพันธ์ร้อยละของนักเรียนที่เคยมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์หญิงขายบริการร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์หญิงขายบริการ ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกันร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์หญิงอื่นๆ ที่ไม่ใช่แฟนหรือคู่รัก รู้จักกันผิวเผิน ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์นอกสมรสร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์นอกสมรส ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์หญิงอื่นๆ ที่ไม่ใช่แฟนหรือคู่รัก รู้จักกันผิวเผินในกลุ่มนักเรียน ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์แฟนหรือคู่รักในกลุ่มนักเรียนร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์แฟนหรือคู่รักในกลุ่มนักเรียน ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกโดยความไม่สมัครใจร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกโดยความไม่สมัครใจ ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
อัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกในกลุ่มนักเรียนอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกในกลุ่มนักเรียน ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
อัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกในกลุ่มผู้ใหญ่อัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกในกลุ่มผู้ใหญ่ ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
การไม่ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์กับหญิงขายบริการการไม่ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์กับหญิงขายบริการ ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
การใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกันการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน ร้อยละ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา
การใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งมีเพศสัมพันธ์หญิงอื่นๆการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งมีเพศสัมพันธ์หญิงอื่นๆ ที่มา: ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (BSS), สำนักระบาดวิทยา