1.92k likes | 2.04k Views
การประชุมชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 วันที่ 7 มีนาคม 2551 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมระแงะ ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส. ประเด็นนำเสนอ. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
E N D
การประชุมชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 วันที่ 7 มีนาคม 2551 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมระแงะ ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส
ประเด็นนำเสนอ • ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
1 ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 หลักธรรมาภิบาล Good Governance พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ประสิทธิภาพ Efficiency ความคุ้มค่าของเงินValue-for-Money ประสิทธิผลEffectiveness คุณภาพQuality ภาระรับผิดชอบ Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การมีส่วนร่วมของประชาชนParticipation เปิดเผยโปร่งใสTransparency ตอบสนอง Responsiveness กระจายอำนาจ Decentralization แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย นิติรัฐ Rule of law 4
ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผล สัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ การลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของ ประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะ อย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนด หลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้” 6
ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 7
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) 50% ประโยชน์สุข ของประชาชน ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • ความโปร่งใส ภายนอก • อำนวยความสะดวก และตอบสนองความ ต้องการของประชาชน Customer Perspective คุณภาพ 20% • ป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ระดับความ พึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ • การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร • การเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ 10% • ปรับปรุงระบบการทำงานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงาน ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน ภายใน Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ 20% • เสริมสร้างขีดสมรรถนะ (เก่ง) และจริยธรรม (ดี)ของข้าราชการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Strategy Map / Balanced Scorecard 9
2 ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
1) ขั้นตอนการเจราจาข้อตกลงตัวชี้วัด ในมิติที่ 1 ของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2551 สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษา รวบรวมและจัดทำรายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการบรรลุ เป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัดในมิติที่ 1 เสนอ อ.ก.พ.ร. พิจารณาให้ความเห็นชอบ จังหวัดเสนอตัวชี้วัดมายัง สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2550 ที่ปรึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมของตัวชี้วัดที่จังหวัดเสนอมา ตัวชี้วัดใดไม่เป็นไปตามรายการตัวชี้วัด ที่ อ.ก.พ.ร. ให้ความเห็นชอบ ตัวชี้วัดทุกตัวที่จังหวัดเสนอ เป็นไปตามรายการตัวชี้วัด ที่ อ.ก.พ.ร. ให้ความเห็นชอบ เจรจากับคณะกรรมการเจรจาฯ (เวทีเจรจา /วีดีทัศน์ทางไกล) สรุปผล แจ้งคณะกรรมการเจรจาฯ และจังหวัด สรุปผล และแจ้งจังหวัด จัดทำคำรับรองฯ
การติดตามผล จังหวัดจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้สำนักงาน ก.พ.ร . จังหวัดจัดส่งรายงานการติดตามงาน(SAR) รอบ 6 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร./ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตามความก้าวหน้า การปฏิบัติราชการ ณ จังหวัด (Site visit : Pre-Evaluation) จังหวัด/ จัดส่งรายงานการติดตามงาน(e-SAR Card) รอบ 9 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. 2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ การประเมินผล จังหวัดจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือน (Self Assessment Report) ให้สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการ ณ จังหวัด (Site visit : Post-Evaluation) ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผล/นำเสนอคณะกรรมการ เจรจาข้อตกลงและประเมินผล สำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ไม่อนุมัติ อนุมัติ นำผลการประเมินไปเชื่อมโยงกับแรงจูงใจ
2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 15-16 พ.ย..
2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ - ความพึงพอใจของผู้รับบริการ - การเสริมสร้างธรรมาภิบาล มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด • ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วน ของรัฐบาล (ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด) • การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ - ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน - การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร -การบริหารจัดการองค์กร
มิติที่ 2 (ร้อยละ 20) มิติที่ 1 (ร้อยละ 50) มิติที่ 3 (ร้อยละ 10) มิติที่ 4(ร้อยละ 20) 3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด • ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วน ของรัฐบาล(ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด) • การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ • คุณภาพการให้บริการ • การเสริมสร้างธรรมาภิบาล มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยรวม KM,IT, Individual Scorecard
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 11 (13)
4 รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการมิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ - ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด - ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วน ของรัฐบาล (ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด) - การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ - การเสริมสร้างธรรมาภิบาล - ความพึงพอใจของผู้รับบริการ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ - ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน - การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร -การบริหารจัดการองค์กร
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1 มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด”
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1(น้ำหนักร้อยละ 12) (โดยกำหนดน้ำหนักของตัวชี้วัดกลุ่มจังหวัดรวมกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3) “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” กลุ่มจังหวัดกขคง 5 5 {(3 x 20%) + (5 x 15%) + (4 x 20%) + (5 x 25%) + (2x 20%)} 100% 4 3 KPI 2 KPI 4 2 KPI 3 3.8 KPI 1 KPI 5 จังหวัด ก3.8 จังหวัด ข3.8 จังหวัด ค3.8 จังหวัด ง3.8 20% 15% 20% 25% 20% ตัวอย่างการกระจายคะแนน: ผลคะแนนที่ได้รับจากตัวชี้วัดในระดับกลุ่มจังหวัด กขคง. (ได้คะแนนเท่ากับ 3.8) จะกระจายไปเป็นคะแนนของตัวชี้วัดในระดับจังหวัด
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1 “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัด” ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหมู่บ้านที่ได้รับการสร้าง ความเข้มแข็งในการรักษาความปลอดภัย (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก)
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหมู่บ้านที่ได้รับการสร้างความเข้มแข็งในการ รักษาความปลอดภัย (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) จำนวนหมู่บ้านที่แต่ละประเภท = จำนวนหมู่บ้านทั้งหมดของ 3 จังหวัด สูตรคำนวณ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหมู่บ้านที่ได้รับ การสร้างความเข้มแข็งในการรักษาความปลอดภัย X 100
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการมาตรการป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) • ทบทวนแผนในปีงบฯ 2550 / วิเคราะห์จุดอ่อน, จุดแข็งของมาตรการที่ใช้ปฏิบัติการ
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการมาตรการป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) • จัดทำแผนปฏิบัติการ/มาตรการในการรักษาความปลอดภัยและป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ประจำปีงบประมาณ 2551 และมีการรายงานติดตามผลการปฏิบัติงานทุกไตรมาสให้ผู้บริหารจังหวัดและหน่วยงานที่รับผิดชอบ
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการมาตรการป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) • แผนปฏิบัติการ/มาตรการมีผลสัมฤทธิ์ 50% • แผนปฏิบัติการ/มาตรการมีผลสัมฤทธิ์ 60%
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการมาตรการป้องกันการก่อเหตุการณ์ร้ายในพื้นที่ (น้ำหนัก 1.5) (จ.ยะลา : เจ้าภาพหลัก) • แผนปฏิบัติการ/มาตรการมีผลสัมฤทธิ์ 70%
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.1.3 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสินค้าอาหารฮาลาล(น้ำหนัก 1.5) (จ.ปัตตานี: เจ้าภาพหลัก) มูลค่าของสินค้าอาหารฮาลาลปี 2551- มูลค่าของสินค้าอาหารฮาลาลปี 2550 มูลค่าของสินค้าอาหารฮาลาลปี 2550 สูตรคำนวณ X 100
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.1.4 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน(น้ำหนัก 1.5) (จ.นราธิวาส: เจ้าภาพหลัก) สูตรคำนวณ มูลค่าการค้า ชายแดนกลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ 2551– มูลค่าการค้าชายแดนกลุ่มจังหวัดปี 2550 มูลค่าการค้าชายแดนกลุ่มจังหวัดปี 2550 X 100
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2 “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการจังหวัด” ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวม จังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0)
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • หน่วยงานผู้จัดทำข้อมูลรายสาขาทบทวนผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในปีที่ผ่านมา เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการปรับปรุงการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการจัดทำสถิติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดรายสาขา และกระบวนการดำเนินงานให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น (0.50 คะแนน)
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • จัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการจัดทำสถติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดรายสาขาให้ครอบคลุมกิจกรรมการผลิตที่มีในจังหวัดเพิ่มมากขึ้น รวมทั้ง บรรณาธิกรณ์ข้อมูลรายสาขาตามหลักวิชาการและบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล (Excel file) ซึ่งไม่ใช่แบบคำนวณ GPP-3 (2.00 คะแนน)
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • จัดทำมูลค่าเพิ่มในแบบคำนวณ GPP-3 เป็นรายสาขา และแสดงอัตราการเติบโต (Growth Rate) ระหว่างปี โครงสร้างการผลิต (Structure) ในสาขา สัดส่วน IC/GO, VA/GO ทั้งในราคาประจำปีและราคาคงที่ • (1.00 คะแนน)
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • ตรวจสอบและวิเคราะห์ผลการจัดทำเบื้องต้นร่วมกันระหว่างผู้จัดทำและหน่วยงานที่สนับสนุนข้อมูล โดยมีการประชุมร่วมกับผู้แทน ธปท.ภาค สภาอุตสาหกรรมจังหวัด หอการค้าจังหวัด สมาคมธนาคาร สมาคมโรงแรม สศช.ภาค ฯลฯ คลังเขตที่รับผิดชอบพื้นที่และผู้ประกอบการ เพื่อปรับปรุงการจัดทำมูลค่าเพิ่มรายสาขาให้มีความถูกต้องและสะท้อนภาวะที่เป็นจริงในพื้นที่ (0.75 คะแนน)
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนัก 1.0) • สำนักงานคลังจังหวัดรวบรวม GPP ทั้ง 16 สาขา และแสดงอัตราการเติบโต และโครงสร้างการผลิต ทั้งในราคาประจำปีและราคาคงที่ พร้อมทั้งวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างสาขา อธิบายเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงระหว่างปีในภาพรวมและรายสาขา โดยจะต้องสอดคล้องกับสถานการณ์จริงในพื้นที่ รวมถึงต้องทำการปรับปรุงเพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับจากหน่วยงานที่สนับสนุนให้ข้อมูลและคณะกรรมการ GPP จังหวัด (075 คะแนน)
ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 1 (0.50 คะแนน) • ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข
ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 2 (2 คะแนน) มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน)
ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 2 (2 คะแนน) มิติเชิงคุณภาพ (1.00 คะแนน)
ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 3 (1 คะแนน)
ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 4 (0.75 คะแนน)
ประชุมทบทวนและรายงานผลการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดของปีที่ผ่านมา พร้อมทั้ง ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข มิติเชิงปริมาณ (1.00 คะแนน) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products : GPP) (น้ำหนักร้อยละ 1.0) ขั้นตอนที่ 5 (0.75 คะแนน)