550 likes | 1.56k Views
เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ District Health System ( DHS ). คือการทำงานร่วมกันของ รพช. + สสอ. + รพสต. + อปท. + ประชาสังคม โดยมีเป้าหมายเดียวกันคือทำให้ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน.
E N D
เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ District Health System (DHS) คือการทำงานร่วมกันของ รพช. + สสอ. + รพสต. + อปท.+ประชาสังคม โดยมีเป้าหมายเดียวกันคือทำให้ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน
สุขภาวะ เป้าหมายไปให้ถึง Goal • ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน • พึ่งตนเองได้ในความเจ็บป่วยที่พบบ่อย • โรคเรื้อรังสำคัญ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถควบคุม และดูแลได้ในชุมชน • มีความเข้มแข็ง ของการควบคุมโรค ในท้องถิ่น เช่น ไข้เลือดออก และโรคไม่ติดต่อ • ผู้สูงอายุ ผู้ที่ต้องพึ่งพา สามารถได้รับการดูแล ได้ในชุมชน และที่บ้าน • เกิดการสร้างสุขภาวะของชุมชน โดย ความเข้มแข็งของชุมชน มีภูมิคุ้มกัน Begin with the end in mind
Health Determinants Figure 3: Dahlgren and Whitehead's Social Determinants of Health Rainbow Source: Dahlgren and Whitehead (1991) cited in Leeds NHS Primary Care Trust, Date Unknown)
ปฐมภูมิ = เครือข่ายระดับอำเภอ district health system network • ปฐมภูมิไม่ใช่ สอ. หรือ รพ. แต่ปฐมภูมิคือ ทั้งเครือข่าย • เป็นจุดยุทธศาสตร์ เพื่อสร้าง district health system • มีทรัพยากรเพียงพอ • มีบุคลากรครบทุกด้าน • องค์ความรู้ • เป็นระบบที่ พี่เลี้ยง น้องเลี้ยง เรียนรู้ร่วมกันทั้งเครือข่าย
DHS คืออะไร แนวคิดในการพัฒนาระบบสุขภาพ โดยให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพระดับอำเภอในฐานะจุดคานงัดของการพัฒนา
การจัดการทรัพยากรภายในเครือข่ายการจัดการทรัพยากรภายในเครือข่าย การดูแลที่จำเป็นตามบริบทของพื้นที่ 2°, 3°care District Health System Development(DHSD) ปัญหาร่วม การมีส่วนร่วม แบบบูรณาการ Health วิสัยทัศน์ร่วม - Individual care- Home care- Community care การทำงานเป็นทีมของเครือข่ายสุขภาพอำเภอ
แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS) DHS
Essential care 1. ผู้สูงอายุ ผู้ที่ต้องพึ่งพา สามารถได้รับการดูแล ได้ในชุมชน และที่บ้าน 2. โรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ หืด ถุงลมปอดโป่งพอง วัณโรคปอด เอดส์ โรคไต โรคตับ มะเร็ง) 3. มีความเข้มแข็ง ของการควบคุมโรค ในท้องถิ่น เช่น ไข้เลือดออก และโรคไม่ติดต่อ 4 . งานส่งเสริมสุขภาพ - ป้องกันโรค - ควบคุมโรค - คัดกรองโรค อนามัยสิ่งแวดล้อม อนามัยแม่และเด็ก อาชีวอนามัย 5. ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน 6. สุขภาพฟัน 7. โรคจิตเวช - สุขภาพจิต 8. ผู้พิการ (อัมพาต เบาหวานถูกตัดเท้า แผลเรื้อรัง) 9. เด็กเล็ก วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส คนยากคนจน 10. ผู้ป่วยระยะท้าย
ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้(CBL) คุณภาพบริการ ประสาน สายสัมพันธ์ นำสู่พัฒนา ระบบบริการ การบริหารจัดการแบบแนวราบ - ภาคี เครือข่าย ให้เกียรติ เคารพกัน ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
เครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHS) Specialist แพทย์เฉพาะทาง Provincial Hospitalรพท. /รพศ. ร่วม เอกภาพ ของภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอรพ.ชุมชน -สสอ.-รพ.สต.-อปท.- ชุมชน Other Sectors ภาคส่วน อื่นๆ CBLรบฐ.Common Goalร่วมคิดCommon Actionร่วมทำCommon Learningร่วมเรียนรู้ Essential Cares Self Care SRM Action Research / R2R • Psychosocial Outcomes • Value คุณค่า • Satisfaction ความพอใจ • Happiness ความสุข • Clinical Outcomes • Morbidity อัตราป่วย • Mortality อัตราตาย • Quality of Life คุณภาพชีวิต
Essential Cares ส่งเสริม - ป้องกัน แม่และเด็ก ระบบแพทย์ฉุกเฉิน เจ็บป่วยเล็กน้อย สุขภาพฟัน โรคเรื้อรัง จิตเวช - สุขภาพจิต ผู้พิการ ผู้ป่วยระยะท้าย กลุ่มเสี่ยงสูง (เด็กเล็ก วัยรุ่น ผู้สูงอายุ คนจน คนทุกข์ยาก) เครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHS) • เอกภาพ DHS • แนวคิด - นโยบาย • โครงสร้าง • แบ่งปันทรัพยากร(Resources Sharing) • พัฒนากำลังคน • ระบบข้อมูล • ระบบสนับสนุน • การจัดการแนวใหม่ • New Management • (Partnership & • Networking) Specialist แพทย์เฉพาะทาง Provincial Hospitalรพท. /รพศ. ร่วม เอกภาพ ของภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอรพ.ชุมชน -สสอ.-รพ.สต.-อปท.- ชุมชน Other Sectors ภาคส่วน อื่นๆ CBLรบฐ.Common Goalร่วมคิดCommon Actionร่วมทำCommon Learningร่วมเรียนรู้ Essential Cares Self Care SRM Action Research / R2R • Psychosocial Outcomes • Value คุณค่า • Satisfaction ความพอใจ • Happiness ความสุข • Clinical Outcomes • Morbidity อัตราป่วย • Mortality อัตราตาย • Quality of Life คุณภาพชีวิต
สร้างแนวทาง • มาตรฐาน • ฝึกอบรม • นิเทศงาน • สนับสนุน • ระบบส่งต่อ • ระบบข้อมูล รักษาโรคซับซ้อน โรงพยาบาลHOSPITAL CARE บริการแบบ(1A 4Cs) - ใกล้บ้านใกล้ใจ - ต่อเนื่อง - ผสมผสาน&องค์รวม - ประสานทุกส่วน - ชุมชนมีส่วนร่วม ระบบการสนับสนุน หน่วยบริการปฐมภูมิ PRIMARY CARE บริการเชิงรุก ควบคุมโรคระบาด สร้างเสริมสุขภาพในชุมชน/ โรงเรียน/สถานประกอบการ อนามัย สิ่งแวดล้อม • ท้องถิ่น - ชุมชน • อปท. • องค์กรชุมชน • หมอพื้นบ้าน • วัด โรงเรียน การดูแล ผู้ป่วย ที่บ้าน • หน่วยราชการ • ผู้นำชุมชน • องค์กรพัฒนา • อสม. การดูแลสุขภาพตนเอง SELF-CARE ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) แบบบูรณาการ
Essential Care • ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน • พึ่งตนเองได้ในความเจ็บป่วยที่พบบ่อย • โรคเรื้อรังสำคัญ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถควบคุม และดูแลได้ในชุมชน • มีความเข้มแข็ง ของการควบคุมโรค ในท้องถิ่น เช่น ไข้เลือดออก และโรคไม่ติดต่อ • ผู้สูงอายุ ผู้ที่ต้องพึ่งพา สามารถได้รับการดูแล ได้ในชุมชน และที่บ้าน • เกิดการสร้างสุขภาวะของชุมชน โดย ความเข้มแข็งของชุมชน มีภูมิคุ้มกัน • อ.ประเวศ วะสี DHS ปัญหาร่วม - Unity district health team - Resource sharing - Community participation - Appreciation การตอบสนอง - นโยบาย - ความต้องการของประชาชน - ความต้องการของหน่วยงาน - ความต้องการของภาคีเครือข่าย D&D L&G • Do &Development • Learning & Growth
จินตภาพ อำเภอสุขภาวะ
อำเภอสุขภาวะ National policy สุขภาวะ Local policy
-กระทรวงสาธารณสุข กำหนดเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (district health system)เป็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดของกระทรวง โดยเน้นให้มีการทำงานร่วมกันของผอ.รพ. กับสาธารณสุขอำเภอ และการทำงานของจนท.สารณสุขร่วมกับองค์กรปกครองท้องถิ่นและชุมชน ซึ่งมีการกำหนดให้ทุกอำเภอมีการแก้ปัญหาตามบริบท และส่งเสริมให้ใช้ระบบ พบส. โดยให้พี่ช่วยน้อง น้องช่วยพี่ พี่น้องช่วยกัน
ตัวชี้วัด DHS จำนวน 2 ข้อ ข้อที่ 1 ขั้นการพัฒนา ประเมินตนเอง (self assessment) ตามแบบฟอร์ม (บันได 5 ขั้น) จะมีหัวข้อย่อย 5 ประเด็น คือ คณะกรรมการระดับอำเภอ (Unity District Health Team) การให้คุณค่าการทำงาน(Appreciation) การพัฒนาและจัดสรรทรัพยากร ( Knowledge, CBL, FM) การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน(Community participation) การวัดผล วัดจากความก้าวหน้า โดยเมื่อสิ้นปีงบประมาณมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ขั้น ของเนื้อหา หรืออย่างน้อยระดับ 3 ในแต่ละหัวข้อย่อยขึ้นไป
แนวทางการพัฒนา DHSA ด้วยกลไกบันได 5 ขั้น ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)
ข้อที่ 2 • หนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหาตามบริบทโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน One District One Project (ODOP) • โดยทีมสุขภาพระดับอำเภอคัดเลือกปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัยหรือเชิงประเด็นอย่างน้อย 1 เรื่อง ร่วมกับทีม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันตามความเหมาะสม เพื่อติดตามความก้าวหน้าและความสำเร็จของโครงการ ทั้งนี้ต้องทำงานตามปัญหาของพื้นที่ในรูปแบบของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภออย่างเป็นรูปธรรม
DHS แตกต่างจากการพัฒนาอื่นๆ อย่างไร • นโยบายที่พัฒนาจากระดับปฏิบัติการ (Bottom-up policy) • เป็นการพัฒนาที่เกิดจากการทำงานในพื้นที่จริง (Practice and policy link) • เริ่มต้นการพัฒนาด้วยเทคนิค INN model คือ แต่ละแห่งมีความสำเร็จส่วนตัว แล้วรวมตัวกันเพื่อต่อยอด ผลักดัน ความสำคัญ คือ เป็นการฉีกขนบการพัฒนานโยบายที่มักเป็น top-down และ เกิดจากแนวคิดที่ไม่สัมพันธ์กับพื้นฐานสุขภาพจริง หากโครงการนี้สามารถประสบความสำเร็จในการผลักดันนโยบาย ก็อาจจะเปิดโอกาสให้ คนทำงานในระดับภูมิภาคสามารถเข้ามามีบทบาทพัฒนานโยบายได้
สร้างแนวทาง • มาตรฐาน • ฝึกอบรม • นิเทศงาน • สนับสนุน • ระบบส่งต่อ • ระบบข้อมูล รักษาโรคซับซ้อน โรงพยาบาลHOSPITAL CARE บริการแบบ(1A 4Cs) - ใกล้บ้านใกล้ใจ - ต่อเนื่อง - ผสมผสาน&องค์รวม - ประสานทุกส่วน - ชุมชนมีส่วนร่วม ระบบการสนับสนุน หน่วยบริการปฐมภูมิ PRIMARY CARE • สร้างแนวทางมาตรฐาน : คู่มือ CPG • ฝึกอบรม :การจัดการเรียนโดยใช้บริบทเป็นฐาน(CBL) • “ เรียนในสิ่งที่ทำ ทำในสิ่งที่เรียน” • นิเทศงาน : พี่เลี้ยง (coach) • ระบบสนับสนุน : กำลังคน ทรัพยากร การปรึกษา • ระบบส่งต่อ 2ทาง • ระบบข้อมูล ที่เชื่อมโยง บริการเชิงรุก ควบคุมโรคระบาด สร้างเสริมสุขภาพในชุมชน/ โรงเรียน/สถานประกอบการ อนามัย สิ่งแวดล้อม • เครือข่ายชุมชน • อบต. • องค์กรชุมชน • หมอพื้นบ้าน • วัด โรงเรียน การดูแล ผู้ป่วย ที่บ้าน • หน่วยราชการ • ผู้นำชุมชน • องค์กรพัฒนา • อสม. การดูแลสุขภาพตนเอง SELF-CARE ระบบสุขภาพอำเภอแบบบูรณาการ
จัดการเรียนโดยใช้บริบทเป็นฐาน Context-Based Leaning (CBL) • ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมเรียนรู้ • ทีมรพช. - ทีมรพ.สต. • ทีมรพ.สต. - อปท.- ชุมชน • เรียนในสิ่งที่ทำ ทำในสิ่งที่เรียน • เรียนรู้ พัฒนาคน พัฒนางาน • อย่างต่อเนื่อง • ตามภาระงานใหม่ๆ กิจกรรมหลัก (ได้เห็น ได้ทำ ทำได้) • การเรียนโดยใช้ รพ. เป็นฐาน • การเรียนโดยใช้สถานบริการ (บริบท) ของผู้เรียนเป็นฐาน: การนิเทศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ • การเรียนโดยใช้สถานบริการที่อยู่ในชุมชน : สถานีอนามัย /PCU /CMU / รพ.สต. • การเรียนรู้ในชุมชน : การเยี่ยมบ้าน การทำงานชุมชน
หลักคิด & เครื่องมือ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา • ภาคประชาชน • ภาคการเมือง * ทุนทางสังคม * ชุมชนไม่ใช่ภาชนะว่างเปล่า * เป็นระบบที่เชื่อมโยงกัน * โครงสร้างองค์กรชุมชน • ทุกเรื่องมีผลต่อสุขภาวะ • Self care • ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน • Community participation
สิ่งที่ได้รับนอกเหนือจากการถอดบทเรียนที่ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับทุกคนสิ่งที่ได้รับนอกเหนือจากการถอดบทเรียนที่ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับทุกคน อธิบายภาพ ภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระองค์ทรงประทับนั่งที่พื้น แล้วทรงกางแผนที่บนพื้นดิน สมเด็จพระเทพฯทรงประทับนั่งด้านหลัง ประชาชนในพื้นที่ก็นั่งใกล้ๆกับทั้ง 2 พระองค์ เพื่อถวายข้อมูลให้พระองค์ทรงทราบ ท่าน นพ.บุญยงค์ ท่านอธิบายความหมายของภาพว่า “องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ท่านเปรียบเสมือนฟ้า ยังลงมานั่งประทับที่พื้น ติดดิน แล้วตัวเราหล๊ะเป็นฟ้าได้หรือไม่ ผมว่าเป็นได้อย่างมากก็แค่ยอดไม้ แล้วทำไมเราถึงเข้าใกล้ประชาชนไม่ได้ ภาพเขียนของ อจ.นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ครูผู้นำแห่งแดนน่าน
DHS Never End