1.06k likes | 1.35k Views
S c h o o l. M a p p i n g. School Mapping. เป็นเทคนิคและกระบวนการที่ใช้ในการกำหนด ความต้องการทางการศึกษาในอนาคตในระดับ ท้องถิ่น และวางแผนเพื่อกำหนดมาตรการที่จะ ทำให้บรรลุตามความประสงค์นั้น. International Institute for Education Planning : IIEP. Education micro planning.
E N D
School Mapping
School Mapping เป็นเทคนิคและกระบวนการที่ใช้ในการกำหนด ความต้องการทางการศึกษาในอนาคตในระดับ ท้องถิ่น และวางแผนเพื่อกำหนดมาตรการที่จะ ทำให้บรรลุตามความประสงค์นั้น International Institute for Education Planning : IIEP
Education micro planning Educational map
ประโยชน์ของการทำ School mapping 1. ขยายการศึกษาภาคบังคับ 2. เพิ่มโอกาสในการเรียนต่อระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย 3. ปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษา สร้างความเท่าเทียม การใช้ทรัพยากร
ปัจจัยในการจัดทำ School mapping 1. ด้านประชากร 2. ด้านการศึกษา 3. ด้านภูมิศาสตร์ 4. ด้านเศรษฐกิจ 5. ด้านการเมือง 6. ด้านกำลังคนและตลาดแรงงาน
กระบวนการในการทำSchool mapping 1. วิเคราะห์สถานการณ์ในปีฐาน (base year) .ความครอบคลุม .ประสิทธิภาพ .คุณภาพ 2.คาดคะเน ( Projection ) 3. เตรียมข้อเสนอ ( Proposal )
กระบวนการในการทำ school mapping อุปทาน ที่มีอยู่จริง (Existing supply) อุปสงค์ ปัจจุบัน (Present demand) -สิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์ -บุคลากร หลักสูตร -ต้นทุนและงบประมาณ -การกระจายทางภูมิศาสตร์ ของอุปทาน (โรงเรียนและเครือข่าย) -การรับนักเรียน -อัตราการรับนักเรียน -การสะพัดของนักเรียน -การกระจายทางภูมิศาสตร์ ของอุปสงค์ (ประชากร) การวินิจฉัย ความไม่สมดุลในปัจจุบัน (Present imbalances)
ความไม่สมดุลในปัจจุบันความไม่สมดุลในปัจจุบัน (Present imbalances) ความต้องการในอนาคต (Future requirements) อุปสงค์ อนาคต (Future demand ) -ที่ดินสิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์ -ครูและบุคลากร -หลักสูตรในอนาคต -ต้นทุนและงบประมาณ -คาดคะเนประชากรวัยเรียน -คาดคะเนนักเรียนเข้าใหม่ -คาดคะเนจำนวนนักเรียน การคาดคะเน บรรทัดฐาน และ มาตรฐาน
ความสมดุลของอุปสงค์และอุปทานในอนาคตความสมดุลของอุปสงค์และอุปทานในอนาคต (Balance of future supply and demand ) การเตรียมข้อเสนอ การขยายเครือข่ายโรงเรียน ข้อเสนอของการแก้ปัญหา ตามระดับและประเภทของการศึกษา และพื้นที่ (Modification to the school network different solutions according to the levels and types of education and to areas)
การวิเคราะห์การเข้าถึงเครือข่ายโรงเรียนการวิเคราะห์การเข้าถึงเครือข่ายโรงเรียน (Analysis of the School network’s accessibility) 1. ระยะทาง 2. วิธีที่ใช้ในการเดินทาง 3. เวลาที่ใช้ในการเดินทาง 4. สถานที่ตั้งบ้านเรือนของนักเรียน
การวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของจำนวนนักเรียนการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของจำนวนนักเรียน ( Analysis of enrolment development ) • การหาการเปลี่ยนแปลงแบบสัมบูรณ์ (Absolute growth) E = E - E t t - n • การหาการเปลี่ยนแปลงแบบสัมพัทธ์ (Relative growth) E - E t t - n 100 E = E t - n
จำนวนนักเรียน ปี 2542 ปี 2547 พื้นที่ A 1812 2754 พื้นที่ B 5839 7532 Absolute growth พื้นที่ A = 2754 - 1812 = 942 พื้นที่ B = 7532 - 5839 = 1693
- E2547 E2542 100 Relative growth = E2542 2754 - 1812 พื้นที่ A = = 52 % 100 1812 7532 - 5839 พื้นที่ B = 100 = 29 % 5839
การคำนวณหาดัชนีแนวโน้ม • (Calculation of the enrolment trend index ) E t X 100 E = E t - n
ปี 2542 2543 2544 2545 2546 2547 จำนวน 1812 1961 2086 2299 2467 2754 1961 100 = 108.2 ดัชนีปี 2543 = 1812 2754 100 = 152.0 ดัชนีปี 2547 = 1812
การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยการหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย • (Annual rate of growth ) n E = E ( 1 + r ) n 0 n E = E ( 1 + r ) 2547 2542
การตรวจสอบการเข้าถึงบริการการตรวจสอบการเข้าถึงบริการ ( Examination of access ) • อัตราการเข้าเรียน (Admission rate ) • อัตราการรับนักเรียน (Enrolment rate) • อัตราการเรียนต่อ (Transition rate)
อัตราการเข้าเรียน (Admission rate) 1. อัตราการเข้าเรียนอย่างหยาบ (Apparent admission rate) จำนวนนักเรียนที่เข้าใหม่ ชั้น ป.1 จำนวนเด็กที่มีอายุ 7 ปี
จำนวนนักเรียนเข้าใหม่อายุ n ปี จำนวนเด็กอายุ n ปี อัตราการเข้าเรียนรายอายุ Age – specific admission rate
ปีที่เข้าเรียน อายุ 2544 2545 2546 2547 3. อัตราการเข้าเรียนแบบโคฮอทCohort admission rate อัตราการเข้าเรียนรายอายุ 2543 4.6 26.9 46.9 13.4 3.0 4.5 26.7 48.6 14.6 3.1 3.9 29.1 47.4 13.5 2.8 4.5 28,8 48.2 13.5 2.6 4.5 28.5 46.7 13.6 2.6 5 6 7 8 9
อัตราการรับนักเรียน (Enrolment rate) • อัตราการรับนักเรียนอย่างหยาบ • Gross enrolment rate จำนวนนักเรียนระดับ ม.ต้น จำนวนประชากรที่มีอายุ 13 –15 ปี
อัตราการรับนักเรียนอย่างละเอียดอัตราการรับนักเรียนอย่างละเอียด Net enrolment rate จำนวนนักเรียน ม.ต้นอายุ 13 - 15ปี จำนวนประชากรที่มีอายุ 13 - 15ปี
อัตราการรับนักเรียนรายอายุอัตราการรับนักเรียนรายอายุ Age-specific enrolment rate จำนวนนักเรียน ม.ต้นอายุ n ปี จำนวนประชากรที่มีอายุ n ปี
อายุ จำนวนประชากร นักเรียน ม.ต้น ภ 614 590 570 552 531 512 489 470 448 29 178 488 498 506 467 432 409 243 10 11 12 13 14 15 16 17 18 รวม 4776 3250
อัตราการเรียนต่อ ป.6/ ม.1 จำนวนนักเรียน ม.1 ปีt+1 = จำนวนนักเรียนจบ ป.6 ปีt อัตราการเรียนต่อ ม.3/ ม.4 จำนวนนักเรียน ม.4 ปี t+1 = จำนวนนักเรียนจบ ม. 3 ปี t อัตราการเรียนต่อ Transition rate
อัตราการเรียนต่อ ป.6/ ม.1 จำนวนนักเรียน ม.1 ปี 2554 = จำนวนนักเรียนจบ ป.6 ปี 2553 อัตราการเรียนต่อ ม.3/ ม.4 จำนวนนักเรียน ม.4 ปี 2552 = จำนวนนักเรียนจบ ม. 3 ปี 2551 อัตราการเรียนต่อ Transition rate
2552 2553 จำนวนนักเรียน ป.6 ทั้งหมด 492 524 จำนวนนักเรียนซ้ำชั้น ป.6 89 95 จำนวนนักเรียน ม.1 ทั้งหมด 274 318 58 65 จำนวนนักเรียนซ้ำชั้น ม.1
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพภายในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพภายใน • อัตราการเลื่อนชั้น (Promotion rate) • อัตราการตกซ้ำชั้น(Repetition rate) • อัตราการออกกลางคัน(Drop - out rate) 2. การสะพัดนักเรียนทางทฤษฏี (Theoretic pupil flow ) 3. อัตราการคงอยู่ ( Retention rate )
อัตราการเลื่อนชั้น จำนวนนักเรียนชั้น n ปี t = จำนวนนักเรียนชั้น n –1 ปี t-1 จำนวนนักเรียนชั้นม. 2 ปี 2553 จำนวนนักเรียนชั้นม. 1ปี2552
อัตราการตกซ้ำชั้น จำนวนนักเรียนซ้ำชั้น n ปี t = จำนวนนักเรียนชั้น n ปี t - 1
อัตราการออกกลางคัน จำนวนนักเรียนที่ออกกลางคันชั้น n ปี t = จำนวนนักเรียนชั้น n ปี t
ชั้น ปี ม.1 ม.2 ม.3 2546 จำนวนนักเรียน 27 21 1 ออกกลางคัน 29 2547 เลื่อนชั้น ซ้ำชั้น 1 3 6 4 ออกกลางคัน 30 28 จำนวนนักเรียน
3 4 5 6 1 2 28 2541 1000 24 942 30 1 2542 30 942 28 18 882 1 2 36 2543 1 64 1 882 60 19 847 2 17 2 2544 3 3 77 847 74 815 15 887 1 2 13 2545 87 4 4 84 815 791 1 ออก 9 2 783 2546 5 5 93 791 90 8 1 จบ 97 2547 6 6 98 1 ตก 2548 7 เลื่อน 7
อัตราการคงอยู่ (Retention rate ) t E Apparent retention rate = 6 t - 5 E 1 t P ∑ k RR = E 1 k 1
3 4 5 6 1 2 28 2541 1000 24 942 30 1 2542 30 942 28 18 882 1 2 36 2543 1 64 1 882 60 19 847 2 17 2 2544 3 3 77 847 74 815 15 887 1 2 13 2545 87 4 4 84 815 791 1 ออก 9 2 783 2546 5 5 93 791 90 8 1 จบ 97 2547 6 6 98 1 ตก 7 2548 เลื่อน 7
คุณภาพของการให้บริการและการใช้ทรัพยากรคุณภาพของการให้บริการและการใช้ทรัพยากร 1. ครูและบุคลากร 2. อาคาร 3. ครุภัณฑ์
ครูและบุคลากร • การวินิจฉัยสภาพของบุคลากร : สายการสอน • และสายสนับสนุนการสอน ครูจำแนกตามหน้าที่ คุณภาพของครู Training need
2. การจัดอัตรากำลังและการใช้ประโยชน์ของครู จำนวนนักเรียนต่อห้อง อัตราส่วน นักเรียน : ครู
จำนวนนักเรียนทั้งหมด จำนวนนักเรียนต่อห้อง = จำนวนห้อง Average audience ผลรวมของจำนวนคาบต่อวิชาต่อสัปดาห์ x จำนวนนักเรียน = จำนวนคาบการสอนของครูต่อสัปดาห์
จำนวนนักเรียน อัตราส่วนนักเรียนต่อครู = จำนวนครู จำนวนนักเรียน จำนวนห้อง X = จำนวนห้อง จำนวนครู
จำนวนครูที่ทำงานเต็มเวลาจำนวนครูที่ทำงานเต็มเวลา จำนวนคาบการสอนทั้งหมดต่อสัปดาห์ = จำนวนคาบการสอนของครูที่ทำงานเต็มเวลาต่อคนต่อสัปดาห์ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู จำนวนนักเรียน = จำนวนคาบการสอนของครูตามเกณฑ์
อาคารเรียน 1. วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างและสภาพของอาคาร วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง สภาพของห้อง / อาคาร 2. การวิเคราะห์พื้นที่ของอาคาร พื้นที่สัญจร ( Circulation )
3. วิเคราะห์การใช้ประโยชน์ของอาคาร 3.1 อัตราการใช้ประโยชน์เทียบกับเวลา ( Time utilization rate : TUR ) จำนวนคาบที่ใช้จริงต่อสัปดาห์ x TUR = 100 จำนวนคาบที่ใช้ตามทฤษฎี
3.2 อัตราการใช้ประโยชน์เทียบกับพื้นที่ ( Space utilization rate : SUR ) จำนวนนักเรียนต่อห้อง SUR = ความจุของห้อง 3.3 Overall utilization rate Overall utilization rate = TUR x SUR
ครุภัณฑ์ อัตราส่วนนักเรียนต่อคอมพิวเตอร์ ร้อยละของโรงเรียนที่มีห้องสมุดมีชีวิต ( Living library ) ร้อยละของโรงเรียนที่มี Projector ร้อยละของโรงเรียนที่มี Lab. ฯลฯ