520 likes | 1.01k Views
KM Rajavithi Hospital. นพ.ทศพร เรืองกฤษณ์ June 9,2009. ความเป็นมาของศูนย์. KM rajavithi เริ่มก่อตั้ง พศ. 2548 มีหัวหน้าศูนย์มาสามคน ปัจจุบันเริ่มทำงานตั้งแต่ 1 เมษายน 2551 สถานที่ ชั้น๒ อาคารเฉลิมพระเกียนติ รพ.ราชวิถี. Knowledge Management หมายถึง.
E N D
KM Rajavithi Hospital นพ.ทศพร เรืองกฤษณ์ June 9,2009
ความเป็นมาของศูนย์ • KM rajavithi เริ่มก่อตั้ง พศ. 2548 • มีหัวหน้าศูนย์มาสามคน • ปัจจุบันเริ่มทำงานตั้งแต่ 1 เมษายน 2551 • สถานที่ ชั้น๒ อาคารเฉลิมพระเกียนติ รพ.ราชวิถี
Knowledge Managementหมายถึง กระบวนการที่องค์การบริหารจัดการให้บุคลากรมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ทัศนคติ ตามที่องค์การต้องการและบุคลากรใช้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์นั้นในการทำงาน KSA (Knowledge Skill Attitude) Management กระบวนการที่องค์กรบริหารจัดการให้ บุคลากรมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่องค์กรต้องการ และบุคลากรใช้ความรู้ ทักษะและทัศนคตินั้นในการทำงาน (Attitude – Engagement Empowerment Motivation Loyalty)
Knowledge management • Knowledge • Data • Information • knowledge • Management • The process of coordinating and integrating work activities so that they’re completely efficiently and effectively with and through other people.
Management • The process of working with and through others to achieve organization objectiives ina changing environment
Managers • Problems with interpersonal relationships. • Failure tomeet bisiness objectives. • failure to build and lead a team. • Inability to change and adapt during a transition.
Key aspects of the management Process Changing environment Balancing Effectiveness and efficiency Achieving Organizational Objectives Working with and through others Getting the most out of limited resources
ลักษณะสำคัญของความรู้ลักษณะสำคัญของความรู้ By Alvin Tofler ‘Revolutionary Wealth’ 2006 • ความรู้เป็นสิ่งที่ไร้การแย่งชิงโดยธรรมชาติ • ความรู้เป็นนามธรรม • ความรู้เป็นเรื่องสัมพัทธ์ • ความรู้ผสมพันธ์กับความรู้อื่นๆได้ • ความรู้เป็นสิ่งที่เคลื่อนย้ายได้ง่ายกว่าสินค้าอื่นๆ • ความรู้ถูกจัดเก็บในพื้นที่เล็กลงเรื่อยๆ • ความรู้มีความสัมพันธ์กับเวลาเป็นอย่างมาก
7 s Mckinsey • Structure • Strategy • System • Staff • Style • Skill • Share value
Structure • Km manager • Administration • MIS man • Hierachy • Consultant committee
แผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ โรงพยาบาลราชวิถีปีงบประมาณ 2552 (ต.ค. 51 – ก.ย. 52) โครงสร้างองค์กร ผู้อำนวยการ TQM (ร.ศ.(พิเศษ)นพ.สุกิจ พันธุ์พิมานมาศ) คณะกรรมการและที่ปรึกษา KM (นายแพทย์ทศพร เรืองกฤษณ์) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่สารสนเทศ
Leadership • Visionary leadership • Superb on communication • Inspire staffs in the organization
KM tools • 1. เรื่องเล่าเร้าพลัง (Storytelling) เป็นการถอดความรู้ฝังลึกโดยการมอบหมายให้ผู้ที่มีผลงานดี หรือมีวิธีการทำงานที่ดี มาเล่าให้คนอื่นๆ ฟังว่าทำอย่างไร คนเล่าจะต้องเล่าให้สนุก น่าฟัง เร้าใจ เล่าให้เห็นการปฏิบัติ เห็นบุคคล ตัวละครในเหตุการณ์ ใช้ภาษาเชิงปฏิบัติจริง เล่าสิ่งที่ตนเองทำจริงๆ กับมือ ไม่ปรุงแต่ง ใส่สีตีไข่ เล่าเหมือนเล่านิทานให้เด็กฟัง • 2. เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) เชิญทีมอื่นมาแบ่งปันประสบการณ์ดีๆ (best practice) ให้เรา มาแนะ มาสอน มาบอก มาเล่าให้เราได้ฟังเพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานเรา • 3. การทบทวนหลังปฏิบัติการ หรือ การถอดบทเรียน (After Action Review : AAR) เมื่อทำงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งเสร็จแล้ว ก็มีการมานั่งทบทวนร่วมกัน ผ่านทางการเขียนและการพูด ด้วยการตอบคำถามง่ายๆ ว่า วันนี้ที่ทำนี่เพื่ออะไรหรืออยากได้อะไร ทำแล้วได้ตามที่คาดหวังไว้ไหม ทำไมถึงได้มากกว่าหรือน้อยกว่า ได้อะไรดีๆเพิ่มขึ้นมาบ้างและถ้าจะทำแบบนี้อีกควรปรับปรุงอย่างไร
MIS mangement • E learning • PDF file • PPT • Camtasia studio • PPT • Voice • Motion pictures
Strategy • Support on Rajavithi strategy 7 sides • Be important part of the success • Km evaluation
การวัดความสำเร็จของ KM • ประสิทธิภาพขององค์การ • นวัตกรรมที่เกิดขึ้น
การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA)
7หมวดของการจัดการที่ดี7หมวดของการจัดการที่ดี โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 1. การนำองค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
KM and PMQA การจัดการสารสนเทศและความรู้ การจัดการข้อมูล สารสนเทศ และองค์ความรู้ • องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการทำให้มั่นใจว่า ข้อมูล, สารสนเทศ และองค์ความรู้ขององค์กรมีคุณสมบัติดังนี้: มีความแม่นยำ ความถูกต้องและเชื่อถือได้ ความทันเหตุการณ์ การรักษาความปลอดภัยและความลับ
KM and PMQA (2) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการจัดการความรู้ขององค์กร เพื่อให้บรรลุผลดังต่อไปนี้ • การรวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร • การถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ระหว่างองค์กรกับลูกค้า ผู้ส่งมอบ คู่ค้า และคู่ความร่วมมือ • การค้นหาและระบุ การแบ่งปัน และการนำวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศไปปฏิบัติอย่างรวดเร็ว • การรวบรวมความรู้และถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องไปใช้ในกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์
แนวทางการดำเนินงาน • องค์กรต้องสร้างกระบวนการ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) • องค์กรต้องมองภาพรวมของปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร • ในการจัดการความรู้ควรคำนึงถึงการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร
1. องค์กรต้องสร้างกระบวนการ การจัดการความรู้(Knowledge Management) • การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) • การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) • การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) • การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) • การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) • การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) • การเรียนรู้ (Learning)
2. องค์กรต้องมองภาพรวมของปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร องค์กรต้องมองภาพรวมของปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ที่จะส่งผลกระทบต่อกระบวนการจัดการความรู้ขององค์กร โดยการนำกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management) มาเชื่อมโยง เพื่อจะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่จะทำให้กระบวนการจัดการความรู้มีชีวิตหมุนต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง และทำให้การจัดการความรู้ขององค์กรมีประสิทธิผล โดยจัดทำเป็นแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) และนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริง ๆ
3. ในการจัดการความรู้ควรคำนึงถึงการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร ในการจัดการความรู้ควรคำนึงถึงการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร รวมทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย และแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การจัดการความรู้ในองค์กรการจัดการความรู้ในองค์กร 7. การเรียนรู้ (Learning) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 6. การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge sharing) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี 2552-2555
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี 2552-2555
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี 2552-2555
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี 2552-2555
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี 2552-2555
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี 2552-2555
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี 2552-2555
The First Mobileendoscopic การพัฒนาเครือข่ายผ่าตัดทางกล้อง ระหว่างวันที่ 11-13 กุมภาพันธ์2552 ณ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ จังหวัดเชียงราย
แผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ โรงพยาบาลราชวิถีปีงบประมาณ 2552 (ต.ค. 51 – ก.ย. 52) โครงการ/กิจกรรมการจัดการความรู้ของหน่วยงาน
แผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ โรงพยาบาลราชวิถีปีงบประมาณ 2552 (ต.ค. 51 – ก.ย. 52) โครงการ/กิจกรรมการจัดการความรู้ของหน่วยงาน
แผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ โรงพยาบาลราชวิถีปีงบประมาณ 2552 (ต.ค. 51 – ก.ย. 52) โครงการ/กิจกรรมการจัดการความรู้ของหน่วยงาน
กิจกรรม KM rvt • เผยแพร่ Tacit knowledge • จัดงาน KM day • ส่งเสริม COPs • จัดการบรรยาย • การประชุม COPs ต่างๆ • E learning • จัดอบรม • มอบใบประกาศ
Welcome Cow ชาว KM Kick off KM Day 18 Jan 2009 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 10.30 น .-14.00 น. ณ ลานบ่อปลาตึกสิรินทร ชั้น 1
ความคิดสร้างสรรค์และการตั้งประเด็นปัญหาเพื่อการพัฒนา • วันที่ 27มีนาคม 2552 • ณ โรงพยาบาลราชวิถี • โดย ดร.อภิชาติ ดำดี
พิธีมอบใบประกาศนียบัตรหลักสูตร E-Learningวันที่ 26 พฤษภาคม 2552