160 likes | 282 Views
ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รุ่นปีการศึกษา 2544 และ ความพึงพอใจของบัณฑิต. เสนอสภามหาวิทยาลัยวันที่ 16 พฤศจิกายน 2545. 1. ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต. ภาวะการทำงานของบัณฑิต ประจำปี 2545 (จบปีการศึกษา 2544). มี.ค.44(นศ.จบ). 20 ก.ย.45(สำรวจ). 6 เดือนหลังจบ.
E N D
ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รุ่นปีการศึกษา 2544 และ ความพึงพอใจของบัณฑิต เสนอสภามหาวิทยาลัยวันที่ 16 พฤศจิกายน 2545 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
1. ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
ภาวะการทำงานของบัณฑิต ประจำปี 2545 (จบปีการศึกษา 2544) มี.ค.44(นศ.จบ) 20 ก.ย.45(สำรวจ) 6 เดือนหลังจบ นศ. ป.ตรี(4-6ปี) จบ = 3,126 เข้ารับพระราชทานปริญญา = 3,053 ตอบแบบสอบถาม = 2,876 ตอบ 94.2 % ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
ภาวะการมีงานทำ 2544 2545 ได้งานทำ 67.4 % 70.3 % ตอบแบบสอบถาม 2,876คน ศึกษาต่อ 13.9 % 15.1 % ว่างงาน 18.7 % 14.6 % 5 เดือนหลังจบ 6 เดือนหลังจบ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
สถิติการได้งานทำของบัณฑิต มอ. ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
ภาวะการมีงานทำรายคณะ กลุ่ม 1 - ได้งานทำ 100 % แพทย์ศาสตร์ ทันตะแพทย์ศาสตร์ เภสัชศาสตร์ กลุ่ม 2 - ได้งานมากกว่า 80 % 2544 2545 พยาบาล 94.4 95.7 โรงแรมฯ 87.0 80.6 มีข้อผูกพันปฎิบัติงานให้กับราชการ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
ภาวะการมีงานทำรายคณะ กลุ่ม 4 - ได้งาน 50-70 % 2544 2545 มนุษยศาสตร์ 62.4 65.7 วิทยาการจัดการ 57.4 65.5 วิศวกรรมศาสตร์ 63.8 62.5 ทรัพยากรธรรมชาติ 65.8 62.1 วิทย์ & เทคโนฯ 63.9 59.7 วิทยาศาสตร์ 53.9 54.1 อิสลามศึกษา 61.9 50.0 กลุ่ม 3 - ได้งาน 70-80 % 2544 2545 ศึกษาศาสตร์ 64.4 76.2 ตรัง 68.8 72.0 อุตสาหกรรมเกษตร 61.8 71.0 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
สาขาที่หางานทำได้สูงของแต่ละคณะ (ยกเว้นแพทย์ ทันตะ เภสัช พยาบาล) คณะ สาขา ร้อยละ วิทย์&เทคโนโลยี เทคโนโลยียาง 100.0 ศึกษาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 92.9 อุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีวัสดุภัณฑ์ 90.9 ทรัพยากรธรรมชาติ สัตวศาสตร์ 87.9 มนุษยศาสตร์ สังคมวิทยา 82.6 วิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหการ 81.1 อุตสาหกรรมบริการ โรงแรมฯ 80.6 วิทยาการจัดการ การเงิน 76.2 วิทยาศาสตร์ จุลชีววิทยา 75.0 อิสลามศึกษา ครุศาสตร์อิสลาม 53.3 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
แหล่ง / ประเภทอาชีพ แหล่งงาน จำนวน % เอกชน 1,174 58.1 ราชการ 683 33.8 อาชีพอิสระ 104 5.2 รัฐวิสาหกิจ 36 1.8 อื่นๆ 25 1.2 รวม 2,022 100.0 ตอบแบบสอบถาม 2,876คน ได้งานทำ 2,022 คน (70.3 %) ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
บัณฑิต มอ. ประกอบอาชีพอิสระยังน้อย ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
ภูมิภาคที่บัณฑิตทำงานภูมิภาคที่บัณฑิตทำงาน ส่วนใหญ่ทำงานภาคใต้ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
เงินเดือนเฉลี่ย วิศวะ 13,283 โรงแรมฯ 12,084 วิทย์&เทคโน 10,496 วิทยาการจัดการ 9,168 วิทย์ 9,036 อุตสาหกรรมเกษตร8,867 ทรัพย์ 8,734 มนุษย์ 8,563 ตรัง 8,304 พยาบาล 8,232 ศึกษาศาสตร์ 6,498 อิสลามศึกษา 5,238 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
2. ความพึงพอใจของบัณฑิต 1. บัณฑิตสำรวจความสามารถของตนเอง 2. บัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
บัณฑิตสำรวจความสามารถของตนเองบัณฑิตสำรวจความสามารถของตนเอง คุณสมบัติ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณสมบัติ 1. ความมีมนุษยสัมพันธ์ 4.02 มาก 2. ทักษะการเรียนรู้สิ่งใหม่ 3.78 มาก 3. สมรรถภาพทางร่างกาย 3.71 มาก 4. บุคลิกภาพ 3.67 มาก 5. ทักษะการตัดสินใจ 3.65 มาก 6. ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.65 มาก 7. ทักษะการประยุกต์ความรู้ 3.61 มาก 8. ความรู้ตามสาขาวิชา 3.57 มาก 9. ทักษะการวิเคราะห์ปัญหา 3.49 ปานกลาง 10. ทักษะทางคอมพิวเตอร์ 3.34 ปานกลาง 11. ทักษะการบริหาร 3.31 ปานกลาง 12. ภาษาอังกฤษ 2.95 ปานกลาง 13. ภาษาที่สาม(จีน/ฝรั่งเศส/..) 1.89 ค่อนข้างน้อย ยังเป็นจุด อ่อนของการ ผลิตบัณฑิต ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
บัณฑิตประเมินว่านายจ้างต้องการอะไรจากบัณฑิตบัณฑิตประเมินว่านายจ้างต้องการอะไรจากบัณฑิต คุณสมบัติที่นายจ้างต้องการ ร้อยละ 1. ความรู้ตามสาขาวิชา 59.9 2. ทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหา 39.6 3. ทักษะทางคอมพิวเตอร์ 36.9 4. ภาษาต่างประเทศ 35.4 5. ความมีมนุษยสัมพันธ์ 33.1 6. ทักษะการเรียนรู้สิ่งใหม่ 27.0 7. ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 22.4 8. บุคลิกภาพ 10.2 9. ทักษะทางการบริหาร 8.1 บัณฑิตประเมินว่านาย จ้างต้องการมาก แต่ บัณฑิตยังไม่มั่นใจว่า ตนเองมีความสามารถ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545
บัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยบัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ประเด็น ค่าเฉลี่ย ระดับความพอใจ 1. ความพึงพอใจต่อหลักสูตรวิชา 3.39 พึงพอใจ 2. ความพึงพอใจต่อวิธีการสอน 3.49 พึงพอใจ 3. ความพึงพอใจต่อผู้สอน 3.81 พึงพอใจมาก 4. ความพึงพอใจต่อการบริการ 3.11 พึงพอใจ 5. ความพึงพอใจต่อห้องLab/ห้องเรียนและอื่นๆ3.07 พึงพอใจ END จุดที่ต้องปรับปรุง *ความทันสมัยของเนื้อหาวิชา 3.36 *รูปแบบการเรียนการสอน 3.27 จุดที่ต้องปรับปรุง *การใช้สื่อที่ทันสมัย 3.35 *การใช้เทคนิคการสอน 3.34 จุดที่ต้องปรับปรุง *ห้องสมุดมีตำรา/วารสารที่นักศึกษาต้องการ 3.21 *เวลาการให้บริการของศูนย์คอมพิวเตอร์ 3.14 *การให้บริการ Internet 3.11 *วิธีการลงทะเบียน 2.99 *การให้บริการด้านการเงินของกองคลัง 2.98 *การให้บริการของงานทะเบียน 2.65 บัณฑิตมีความพอใจกับความรู้ความสามารถ ของอาจารย์ ตลอดจนการเอาใจใส่ดูแล (3.81) จุดที่ต้องปรับปรุง *สภาพหอพักของมหาวิทยาลัย 2.92 *การเดินทางด้วยรถสวัดิการภายใน มอ. 2.72 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2545