250 likes | 403 Views
กลุ่ม STEP 1. สัญลักษณ์. ความหมายสัญลักษณ์. ธง หมายถึง เป้าหมายคือความสำเร็จในการแก้ปัญหาของกลุ่ม บันได หมายถึง วิธีการที่นำไปสู่เป้าหมาย คนก้าวขึ้นบันได หมายถึง การเริ่มกิจกรรม CFT ครั้งแรกของกลุ่ม
E N D
สัญลักษณ์ ความหมายสัญลักษณ์ ธง หมายถึง เป้าหมายคือความสำเร็จในการแก้ปัญหาของกลุ่ม บันได หมายถึง วิธีการที่นำไปสู่เป้าหมาย คนก้าวขึ้นบันได หมายถึง การเริ่มกิจกรรม CFT ครั้งแรกของกลุ่ม กรอบสามเหลี่ยม หมายถึง ขอบเขตการแก้ปัญหา งานร่วม ของ 3 แผนก คือ หซซ-สส., หทซ-สส., หอส-สส. ด้วยกิจกรรม CFT
1 คำขวัญกลุ่ม “ก้าวแรกที่มั่นคง” จดทะเบียนกลุ่ม วันที่ 26 ธันวาคม 2548 เลขทะเบียน 003/2549 กิจกรรมครั้งที่
โครงสายบังคับบัญชา กส-สส. หทซ-สส. หซซ-สส. หอส-สส. เชาวลิต กิตติ สุวิช สุเทพ เกรียงไกร ภัทริศ กองสวิตช์เกียร์มีหน้าที่ วางแผนและประสานงานซ่อมและวิเคราะห์ความเสียหายของอุปกรณ์สวิตช์เกียร์ แผนกเทคโนโลยีบำรุงรักษาเซอร์กิตเบรคเกอร์ มีหน้าที่ ติดตามและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อการบำรุงรักษา เซอร์กิตเบรคเกอร์ แผนกซ่อมเซอร์กิตเบรคเกอร์ มีหน้าที่ จัดหาอะไหล่และปฏิบัติงานบำรุงรักษาเซอร์กิตเบรคเกอร์ตามแผน แผนกบริหารสวิตช์เกียร์ มีหน้าที่ วางแผนบำรุงรักษาเซอร์กิตเบรคเกอร์
สมาชิกกลุ่ม STEP 1 อายุเฉลี่ย 37 ปี อายุงานเฉลี่ย 12 ปีการศึกษา ปวช - ปริญญาโท ที่ปรึกษากลุ่ม นายเกษมสันติ์ กีรติเลิศบุญ
ตารางลำดับความสำคัญของปัญหาตารางลำดับความสำคัญของปัญหา PCB : Power Circuit Breaker
เลือกหัวข้อกิจกรรม “เพิ่มประสิทธิภาพงานวางแผน Overhaul PCB”
มูลเหตุจูงใจ 1. เพื่อสนองตอบต่อนโยบายของ อษส. เรื่องการดำเนินกิจกรรมพัฒนากระบวนการทำงาน Cross Functional Team 2. ใช้โอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานต่างหน่วยงาน ได้ระดมสมองแก้ปัญหาร่วมกัน 3. ต้องการแก้ปัญหางานที่มีอยู่จริง เป้าหมาย “ปรับปรุงคู่มือขั้นตอนปฏิบัติ สำหรับวางแผน Overhaul PCB ”
แผนดำเนินกิจกรรม แผน ดำเนินการ
ลำดับสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาโดยใช้ WHY-WHY Diagram 1 ไม่มีอุปกรณ์ตรวจจับสภาพผิดปกติได้ทุกชิ้นส่วน ข้อมูล Condition Base ยังใช้ไม่ได้สมบูรณ์ ใช้ Criteria Time Base เป็นหลัก Criteria ไม่ถูกต้อง 2 ข้อมูล C/N ไม่ update ผู้รับผิดชอบไม่ Update C/N ลงใน web. Condition base ข้อมูลสภาพการใช้งานไม่ถูกต้อง 3 ไม่มีหน่วยงานบันทึกข้อมูล ไม่มีข้อมูล I2t สภาพ Breakers ที่ถูกวางแผนมีไม่ตรงกับที่คาดการณ์ ชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับใช้เป็นตัวเปรียบเทียบ ไม่ครบ ไม่มีเกณฑ์ตัดสินใจสำหรับใช้ประเมินสภาพ ผลประเมินสภาพไม่ถูกต้อง 4 ไม่มีข้อมูลอะไหล่บางชิ้น เพราะเป็นการ Sampling เพื่อประเมินสภาพครั้งแรก 5 คู่มือของบริษัทผู้ผลิต แนะนำไม่ครบถ้วน การประเมินสภาพบางรุ่นไม่ครบทุกชิ้นส่วน ไม่มีคำแนะนำจุด sampling ที่ชัดเจน
พิสูจน์สาเหตุที่ 1 ไม่สามารถตรวจจับสภาพอุปกรณ์ได้ทุกชิ้นส่วน ข้อมูลการทดสอบไม่สามารถตรวจจับสภาพผิดปกติได้ทุกชิ้นส่วน สภาพ Breakers ที่ถูกวางแผนไม่ตรงกับที่คาดการณ์ ข้อมูล Condition Base ยังใช้ไม่ได้สมบูรณ์ ใช้ Criteria Time Base เป็นหลัก Criteria ไม่ถูกต้อง
พิสูจน์สาเหตุที่ 2 ผู้รับผิดชอบไม่ Update C/N ลงใน web. Condition Base Maintenance ผู้รับผิดชอบไม่ Update C/N ลงใน web. Condition base maintenance สภาพ Breakers ที่ถูกวางแผนไม่ตรงกับที่คาดการณ์ ข้อมูลสภาพการใช้งานไม่ถูกต้อง ข้อมูล C/N ไม่ update
พิสูจน์สาเหตุที่ 3 ไม่มีหน่วยงาน บันทึกข้อมูล I2t สภาพ Breakers ที่ถูกวางแผนไม่ตรงกับที่คาดการณ์ ไม่มีหน่วยงาน บันทึกข้อมูล I2t ไม่มีข้อมูล I2t
พิสูจน์สาเหตุที่ 4 ไม่มีข้อมูลอะไหล่บางชิ้น เพราะเป็นการ Sampling เพื่อประเมินสภาพครั้งแรก ชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับใช้เป็นตัวเปรียบเทียบไม่ครบ ไม่มีข้อมูลอะไหล่บางชิ้น เพราะเป็นการ Sampling เพื่อประเมินสภาพครั้งแรก สภาพ Breakers ที่ถูกวางแผนไม่ตรงกับที่คาดการณ์ ผลประเมินสภาพไม่ถูกต้อง
พิสูจน์สาเหตุที่ 5คู่มือของบริษัทผู้ผลิต แนะนำไม่ครบถ้วน สภาพ Breakers ที่ถูกวางแผนไม่ตรงกับที่คาดการณ์ คู่มือของบริษัทผู้ผลิต แนะนำไม่ครบถ้วน การประเมินสภาพไม่ครบ ไม่มีข้อแนะนำก่อน Sampling
การประเมินลำดับสาเหตุที่ต้องแก้ไขการประเมินลำดับสาเหตุที่ต้องแก้ไข เกณฑ์เลือกหัวข้อการแก้ไข คะแนนรวม > 5 นำปัญหามาแก้ไข คะแนนรวม < 5 ยังไม่ต้องนำปัญหามาแก้ไข ความเป็นไปได้ = 0 ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้
การแก้ไขปัญหาด้วย Tree Diagram สาเหตุที่มุ่งแก้ไข วิธีการ แนวทางแก้ไข วัตถุประสงค์ การปรับปรุง 1 อะไหล่สำหรับใช้ประเมินสภาพ PCB ไม่ครบทุกชิ้นส่วน • ตรวจสอบข้อมูล • ประวัติ อะไหล่ที่เสียหาย • สอบถามรายการอะไหล่จากผู้ผลิต เสนอให้จัดหาอะไหล่ตัวอย่างทุกชิ้นจากผู้ผลิต 2 ชุด สำหรับใช้เปลี่ยนและใช้เปรียบเทียบสภาพ เพิ่มประสิทธิภาพในการประเมินสภาพ PCB 2 จัดทำรายงานสรุปผลการประเมินสภาพ หลังงาน sampling overhaul ตั้งคณะทำงานประเมินสภาพ PCB ไม่มีเกณฑ์ สำหรับประเมินสภาพ PCB ไม่มีข้อมูลอะไหล่บางชิ้น เพราะเป็นการ Sampling เพื่อประเมินสภาพครั้งแรก
ขั้นตอนการวางแผน Overhaul PCB ปัจจุบัน List รายการ PCB ที่ถึงเกณฑ์ Overhaul ตาม Criteria หอส-สส. หาข้อมูลใช้งานและสภาพอุปกรณ์จริง หอส-สส., หทซ-สส, หซซ-สส. หอส-สส., หทซ-สส, หซซ-สส. พิจารณาผลกระทบ • ประสานงานแก้ไข • - CM • Minor Overhaul วางแผน Overhaul หอส-สส. หซซ-สส. หอส-สส.ม หทซ-สส, หซซ-สส. ประเมินผลการบำรุงรักษา หอส-สส., หทซ-สส, หซซ-สส. ปรับ Criteria การ Overhaul
ขั้นตอนการวางแผน Overhaul PCBที่กลุ่มเสนอ List รายการ PCB ที่ถึงเกณฑ์ Overhaul ตาม Criteria หอส-สส. กำหนดตัวที่จะประเมินสภาพจากข้อมูลใช้งาน จัดหาอะไหล่จากผู้ผลิต 2 ชุด เพื่อใช้เปลี่ยนและเปรียบเทียบสภาพ หอส-สส., หทซ-สส, หซซ-สส. หซซ-สส. Sampling Overhaul หซซ-สส. คณะทำงานประเมินสภาพ PCB ที่ถูก Sampling Overhaul หอส-สส., หทซ-สส, หซซ-สส. หอส-สส., หทซ-สส, หซซ-สส. • ประสานงานแก้ไข • - CM • Minor Overhaul พิจารณาผลกระทบ หซซ-สส. หอส-สส. วางแผน Overhaul หอส-สส., หทซ-สส, หซซ-สส. หอส-สส., หทซ-สส, หซซ-สส. ปรับ Criteria การ Overhaul ประเมินผลการบำรุงรักษา
ติดตามการแก้ไขปัญหา 1 จัดหาอะไหล่สำหรับใช้ประเมินสภาพ PCB ให้ครบทุกชิ้นส่วน ตรวจสอบข้อมูล ประวัติ อะไหล่ที่เสียหาย สอบถามรายการอะไหล่จากผู้ผลิต เสนอให้จัดหาอะไหล่ตัวอย่างทุกชิ้นจากผู้ผลิต 2 ชุด สำหรับใช้เปลี่ยนและใช้เปรียบเทียบสภาพ เพิ่มประสิทธิภาพการวางแผน Overhaul PCB
ติดตามการแก้ไขปัญหา 2 หัวหน้ากรุ๊ป ผู้เชี่ยวชาญ จาก หทซ-สส., หซซ-สส., หอส-สส จัดทำรายงานสรุปผลการประเมินสภาพหลังงาน sampling overhaul เพิ่มประสิทธิภาพ การวางแผน Overhaul PCB ตั้งคณะทำงานประเมินสภาพ PCB
จบการนำเสนอ กิจกรรม CFT ปี 2549ของกลุ่ม STEP 1