70 likes | 276 Views
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น Nuclear Power Plants in Japan. โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น เริ่มพัฒนามาตั้งแต่กลางทศวรรษ 1950 โรงไฟฟ้า ทดสอบโรงแรกของ JPDR เริ่มการเดินเครื่องตั้งแต่ปี 1 963 และ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์โรงแรกของ T okai Power ขนาดกำลังผลิต 166 เมกะวัตต์ (MW)
E N D
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่นโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น Nuclear Power Plants in Japan โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น เริ่มพัฒนามาตั้งแต่กลางทศวรรษ 1950 โรงไฟฟ้า ทดสอบโรงแรกของ JPDR เริ่มการเดินเครื่องตั้งแต่ปี 1963 และ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์โรงแรกของ Tokai Power ขนาดกำลังผลิต 166 เมกะวัตต์ (MW) เริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย์จ่ายไฟฟ้าในปี 1966 ปัจจุบัน ญี่ปุ่นเดินเครื่องโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์จำนวน 55 โรง คิดเป็นกำลังผลิตติดตั้งรวม 49,580 MW และจ่ายไฟฟ้าคิดเป็นสัดส่วน ประมาณ 33 % โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิมา ไดอิชิ ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าแบบน้ำเดือด (Boiling Water Reactor, BWR) จำนวน 6 โรง Dr.Kamol TAKABUT
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่นโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น Dr.Kamol TAKABUT
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิมา ไดอิชิ Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant, Okuma Dr.Kamol TAKABUT
ปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด (Boiling water reactor, BWR) อาคารคลุมปฏิกรณ์ ไอน้ำ ถังปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ชุดแท่งควบคุม กังหันไอน้ำ น้ำ น้ำถ่ายเทความร้อน ชุดถ่ายเทความร้อน ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ส่วนผลิตไฟฟ้า Dr.Kamol TAKABUT
Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant, Okuma Dr.Kamol TAKABUT
สรุปความเสียหายเบื้องต้นของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิมาสรุปความเสียหายเบื้องต้นของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิมา ในวันที่ 11 มีนาคม 2554 เกิดแผ่นดินไหวระดับ 8.9 ริทเทอร์ ขณะนั้น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โรงที่ 4 – 6 หยุดซ่อมบำรุงตามกำหนดเวลา ส่วนโรงที่ 1 – 3 ที่เดินเครื่องอยู่ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวทั้ง 3 โรง ดับเครื่องโดยอัตโนมัติ ขณะที่ปฏิกรณ์ปิดตัวเองลง เครื่องยนต์ดีเซลสำหรับระบบปั๊มน้ำฉุกเฉิน เพื่อระบายความร้อนให้แก่ปฏิกรณ์ ก็เดินเครื่องโดยอัติโนมัติ เพื่อระบายความร้อนให้แก่ปฏิกรณ์ แต่ผลของแผ่นดินไหว (After Shock) และ Tsunami ที่กระแทกเข้ามา ทำให้เครื่องยนต์ดีเซลดับลงอย่างกระทันหัน ทำให้ปฏิกรณ์ ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์โรงที่ 1 เกิดความร้อนสูงมาก ทำให้ไอน้ำจากน้ำที่หล่อเย็นปฏิกรณ์ เพิ่มความดันสูงกว่าความดันใช้งานปกติ จนทำให้ระบบท่อไอน้ำ เกิดการแตกตัว ส่งผลต่ออาคารคลุมปฏิกรณ์เสียหาย โดยเกิดเสียงระเบิด ขึ้นที่โรงที่ 1 ในเวลาประมาณ 0730 น. (GMT) เกิดควันขาวพวยพุ่งขึ้นมา Dr.Kamol TAKABUT
เจ้าหน้าที่บริษัทผู้ผลิตปฏิกรณ์ Hitachi ให้ความเห็นว่า ตามรายงาน เสียงระเบิดคงเกิดจากระบบท่อไอน้ำระเบิด ยังไม่มีการรายงานความเสียหายของ ถังปฏิกรณ์ อย่างไรก็ตาม เมื่อมีความคืบหน้าของสถานะการณ์ จะส่งข่าวสารให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบต่อไป Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant, Okuma Dr.Kamol TAKABUT